เรื่อง: ข้อพิจารณาการจำกัดความรับผิดของผู้ขนส่งในสัญญาขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ตุล เมฆยงค์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง ขอพิจารณาการจํากัดความรับผิดของผูขนสงในสัญญาขนสงตอเนื่อง
หลายรูปแบบ
ลักษณะวิชา การเมือง
ผูทําวิจัย นายตุล เมฆยงค หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙
งานวิจัยเรื่อง ขอพิจารณาการจํากัดความรับผิดของผูขนสงในสัญญาขนสงตอเนื่อง
หลายรูปแบบ จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระบบความรับผิดของผูขนสงในสัญญาขนสง ตอเนื่องหลายรูปแบบ หลักการรับผิด เหตุยกเวนความรับผิด การจํากัดความรับผิด และเหตุที่ไมอาจ
จํากัดความรับผิดของผูขนสง โดยเนนเรื่องระบบการจํากัดจํานวนความรับผิดของผูขนสงในสัญญา
ขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบ ซึ่งมีหลายลักษณะ หลายกรณีตามกฎหมายไดกําหนดจํานวนจํากัดความ
รับผิดที่แตกตางกัน ปญหาในการปรับใชกฎหมาย เพื่อเสนอแนวทางการไขปญหาที่เกิดขึ้นจากการ
ปรับใชพระราชบัญญัติการขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. ๒๕๔๘ ในสวนของการจํากัดความรับผิดของ
ผูขนสง
ในการวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษาแนวคิด และกฎหมายตางๆ คนควา และรวบรวมขอมูลจากตํารา วิทยานิพนธ บทความ รายงาน กฎหมายที่เกี่ยวของ ความตกลงระหวาง
ประเทศ คําพิพากษาของศาล และเอกสารอื่น เพื่อนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหประเด็นปญหาและเสนอ
แนวทางแกไขอยางเหมาะสม เพื่อเปนแนวทางในการใชกฎหมายและการปรับปรุงกฎหมายให
สอดคลองกันเปนระบบตามมาตรฐานสากล
ผลการศึกษาพบวามีปญหาทางกฎหมายและทางปฏิบัติอยูหลายประการ ทั้งปญหาการ นํากฎหมายฉบับอื่น หรือกฎหมายตางประเทศ หรืออนุสัญญาระหวางประเทศมาปรับใชเนื่องจาก
ตามพระราชบัญญัติการขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. ๒๕๔๘ มีบทบัญญัติใหนํากฎหมายหรือ
อนุสัญญาระหวางประเทศมาปรับใชในบางกรณี ปญหาเกี่ยวกับการกําหนดและคํานวณคาเสียหาย ปญหาการกําหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตางประเทศ รวมทั้งปญหาทางปฏิบัติบางประการในคดี
ขอเสนอแนะจากผลการศึกษาคือ ควรมีการแกไขปรับปรุงบทบัญญัติพระราชบัญญัติ การขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. ๒๕๔๘ ในสวนที่เกี่ยวกับการกําหนดวันที่ใชอัตราแลกเปลี่ยน
ในการคํานวณคาเสียหายเปนเงินบาทที่ผูประกอบการขนสงตอเนื่องตองรับผิด รวมทั้งควรมีการแกไข
ปรับปรุงกฎหมายที่ใชบังคับแกสัญญารับขนของฉบับอื่นที่ยังไมมีบทบัญญัติจํากัดความรับผิดของ
ผูขนสงใหมีบทบัญญัติจํากัดความรับผิดของผูขนสง และกฎหมายที่ใชบังคับแกสัญญารับขนของ
ระหวางประเทศที่ยังกําหนดหนวยจํากัดความรับผิดของผูขนสงเปนเงินบาท ใหกําหนดหนวยจํากัด
ความรับผิดเปนหนวยสิทธิพิเศษถอนเงินเชนเดียวกันทุกฉบับ ทั้งผูเกี่ยวของในกระบวนการยุติธรรม
ในคดีเกี่ยวกับความรับผิดของผูประกอบการขนสงตอเนื่อง โดยเฉพาะผูพิพากษาที่พิจารณาพิพากษา
คดีควรไดศึกษาทําความเขาใจถึงหลักการและแนวคิดและบทบัญญัติของพระราชบัญญัติการขนสง
ตอเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. ๒๕๔๘ เพื่อใหใชกฎหมายดังกลาวไดถูกตอง เปนธรรม ตามมาตรฐานสากล
abstract:
Abstract
Title Consideration on Limitation of Liability of the Carrier in
Mulimodal Transport Contract
Field Politics
Name Mr. Toon Mek-yong Course NDC Class 59
The objectives of this research are to study liability of the carrier in
multimodal transport contract, especially limitation of liability, and to study legal
problems and law enforcement practices. Due to the provisions of the Multimodal
Transport Act B.E. 2548 (A.D. 2005) which determined to apply the other laws, foreign
laws and international conventions in some cases, the problems of the
determination and calculation of the value of goods and exchange rate were found
in this research.
The suggestion of the study is to amend the Multimodal Transport Act
B.E. 2548 (A.D. 2005), especially in the part of the conversion of the Special Drawing
Right to Thai Baht currency that shall be computed in accordance with the exchange
rate prevailing at the time of the computation of the damages. Moreover, the
provisions in the part of the limitation of liability of the carrier in the relevant acts
should be amended also. Therefore, the relevant stakeholders and someone who
has duties in judicial process, for example judges and lawyers, should have sufficient
understanding and knowledge on the Act in order that the law enforcement and
judicial procedure will be more effective, fairly and international standardized.