Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ข้อพิจารณาการจำกัดความรับผิดของผู้ขนส่งในสัญญาขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ตุล เมฆยงค์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง ขอพิจารณาการจํากัดความรับผิดของผูขนสงในสัญญาขนสงตอเนื่อง หลายรูปแบบ ลักษณะวิชา การเมือง ผูทําวิจัย นายตุล เมฆยงค หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙ งานวิจัยเรื่อง ขอพิจารณาการจํากัดความรับผิดของผูขนสงในสัญญาขนสงตอเนื่อง หลายรูปแบบ จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาระบบความรับผิดของผูขนสงในสัญญาขนสง ตอเนื่องหลายรูปแบบ หลักการรับผิด เหตุยกเวนความรับผิด การจํากัดความรับผิด และเหตุที่ไมอาจ จํากัดความรับผิดของผูขนสง โดยเนนเรื่องระบบการจํากัดจํานวนความรับผิดของผูขนสงในสัญญา ขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบ ซึ่งมีหลายลักษณะ หลายกรณีตามกฎหมายไดกําหนดจํานวนจํากัดความ รับผิดที่แตกตางกัน ปญหาในการปรับใชกฎหมาย เพื่อเสนอแนวทางการไขปญหาที่เกิดขึ้นจากการ ปรับใชพระราชบัญญัติการขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. ๒๕๔๘ ในสวนของการจํากัดความรับผิดของ ผูขนสง ในการวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษาแนวคิด และกฎหมายตางๆ คนควา และรวบรวมขอมูลจากตํารา วิทยานิพนธ บทความ รายงาน กฎหมายที่เกี่ยวของ ความตกลงระหวาง ประเทศ คําพิพากษาของศาล และเอกสารอื่น เพื่อนําขอมูลที่ไดมาวิเคราะหประเด็นปญหาและเสนอ แนวทางแกไขอยางเหมาะสม เพื่อเปนแนวทางในการใชกฎหมายและการปรับปรุงกฎหมายให สอดคลองกันเปนระบบตามมาตรฐานสากล ผลการศึกษาพบวามีปญหาทางกฎหมายและทางปฏิบัติอยูหลายประการ ทั้งปญหาการ นํากฎหมายฉบับอื่น หรือกฎหมายตางประเทศ หรืออนุสัญญาระหวางประเทศมาปรับใชเนื่องจาก ตามพระราชบัญญัติการขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. ๒๕๔๘ มีบทบัญญัติใหนํากฎหมายหรือ อนุสัญญาระหวางประเทศมาปรับใชในบางกรณี ปญหาเกี่ยวกับการกําหนดและคํานวณคาเสียหาย ปญหาการกําหนดอัตราแลกเปลี่ยนเงินตางประเทศ รวมทั้งปญหาทางปฏิบัติบางประการในคดี ขอเสนอแนะจากผลการศึกษาคือ ควรมีการแกไขปรับปรุงบทบัญญัติพระราชบัญญัติ การขนสงตอเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. ๒๕๔๘ ในสวนที่เกี่ยวกับการกําหนดวันที่ใชอัตราแลกเปลี่ยน ในการคํานวณคาเสียหายเปนเงินบาทที่ผูประกอบการขนสงตอเนื่องตองรับผิด รวมทั้งควรมีการแกไข ปรับปรุงกฎหมายที่ใชบังคับแกสัญญารับขนของฉบับอื่นที่ยังไมมีบทบัญญัติจํากัดความรับผิดของ ผูขนสงใหมีบทบัญญัติจํากัดความรับผิดของผูขนสง และกฎหมายที่ใชบังคับแกสัญญารับขนของ ระหวางประเทศที่ยังกําหนดหนวยจํากัดความรับผิดของผูขนสงเปนเงินบาท ใหกําหนดหนวยจํากัด ความรับผิดเปนหนวยสิทธิพิเศษถอนเงินเชนเดียวกันทุกฉบับ ทั้งผูเกี่ยวของในกระบวนการยุติธรรม ในคดีเกี่ยวกับความรับผิดของผูประกอบการขนสงตอเนื่อง โดยเฉพาะผูพิพากษาที่พิจารณาพิพากษา คดีควรไดศึกษาทําความเขาใจถึงหลักการและแนวคิดและบทบัญญัติของพระราชบัญญัติการขนสง ตอเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. ๒๕๔๘ เพื่อใหใชกฎหมายดังกลาวไดถูกตอง เปนธรรม ตามมาตรฐานสากล

abstract:

Abstract Title Consideration on Limitation of Liability of the Carrier in Mulimodal Transport Contract Field Politics Name Mr. Toon Mek-yong Course NDC Class 59 The objectives of this research are to study liability of the carrier in multimodal transport contract, especially limitation of liability, and to study legal problems and law enforcement practices. Due to the provisions of the Multimodal Transport Act B.E. 2548 (A.D. 2005) which determined to apply the other laws, foreign laws and international conventions in some cases, the problems of the determination and calculation of the value of goods and exchange rate were found in this research. The suggestion of the study is to amend the Multimodal Transport Act B.E. 2548 (A.D. 2005), especially in the part of the conversion of the Special Drawing Right to Thai Baht currency that shall be computed in accordance with the exchange rate prevailing at the time of the computation of the damages. Moreover, the provisions in the part of the limitation of liability of the carrier in the relevant acts should be amended also. Therefore, the relevant stakeholders and someone who has duties in judicial process, for example judges and lawyers, should have sufficient understanding and knowledge on the Act in order that the law enforcement and judicial procedure will be more effective, fairly and international standardized.