Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการเสริมสร้างประโยชน์ของไทยในกรอบความร่วมมือแห่งเอเซีย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว ดวงสุดา ศรียงค์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการเสริมสรางประโยชนของไทยในกรอบความรวมมือเอเชีย ลักษณะวิชา การเมือง ผูวิจัย นางสาวดวงสุดา ศรียงค หลักสูตร วปอ รุนที่59 เอกสารวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา วิเคราะหผลของการประชุมสุดยอดกรอบ ความรวมมือเอเชีย ครั้งที่ 2 และเพื่อเสนอแนะแนวทางในการสงเสริมประโยชนของไทยภายใตกรอบ ความรวมมือดังกลาว ใหบังเกิดผลที่เปนรูปธรรมยิ่งขึ้น โดยเนนการศึกษา วิเคราะห วิจัย เฉพาะ รูปแบบ กลไกการดําเนินงาน บทบาทของไทย เปาหมายและผลที่ไดจากการประชุมสุดยอดฯ รวมทั้ง จะเสนอแนวคิดหรือหลักการกวางๆ ในทางวิชาการ โดยไมพิจารณาลึกในรายละเอียดถึงแนวทางการ ปฏิบัติงานของหนวยงานที่เกี่ยวของ การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีแหลงขอมูลจากเอกสารที่เปนผลของการ ประชุม สุดยอดกรอบความรวมมือเอเชีย ครั้งที่ 2 ขอแนะนําจากเวทีของภาคธุรกิจ ACD Connect Business Forum และการสัมภาษณผูบริหารระดับสูงภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวของ โดยนําขอมูลที่ ไดมาศึกษา วิเคราะห เพื่อใหไดขอเสนอแนะแนวทาง ในการเสริมสรางประโยชนของไทยภายใตกรอบ ความรวมมือเอเชีย การวิจัยพบวา ผลของการประชุมสุดยอดฯ มีความสอดคลองและเปนไปในทิศทาง เดียวกับกับคําแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีชุดปจจุบัน และเอกสารรางยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579) ตลอดจนตอบสนองผลประโยชนของไทย ทั้งในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค และระดับระหวางประเทศ ดังนั้น ไทยจึงควรผลักดันใหมีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง ตามที่ไดกําหนด ไวในปฏิญญากรุงเทพและแผนปฏิบัติการพิมพเขียว ค.ศ. 2017 – 2021 เพื่อบรรลุวิสัยทัศนเพื่อ ความรวมมือของเอเชีย ค.ศ. 2030 ขอเสนอแนะ แบงเปนระดับนโยบาย ที่ผูนําจะตองตระหนักถึงความสําคัญและประโยชน ที่ไทยจะไดรับ และผลักดันใหหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการอยางจริงจังและตอเนื่อง รวมทั้งจะตอง เรงสงเสริมความสัมพันธและความรวมมืออันดีและใกลชิดยิ่งขึ้นกับประเทศสมาชิกอื่นๆ ทั้งในระดับทวิ ภาคีและระดับอนุภูมิภาค เพื่อชวยเสริมสรางความไวเนื้อเชื่อใจและลดความขัดแยง สวนระดับปฏิบัติ จะตองเรงเสริมสรางความรูความเขาใจแกผูปฏิบัติใหเกิดความตระหนักและเล็งเห็นประโยชนที่ไทยจะ ไดรับ เพื่อใหมีการปฏิบัติงานตามที่กําหนดไวในแผนปฏิบัติการพิมพเขียว ค.ศ. 2017 – 2021 โดยได เสนอแนวทางในการดําเนินความรวมมือภายใต 6 เสาหลัก รวมทั้งจะตองมีการพัฒนาหนวยงานและ บุคลากรใหมีความพรอม ทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลก มีความเปนสากล

abstract:

ABSTRACT Title An approach to promote Thailand’s national interest Field Politics Name Miss Duangsuda Sriyong Course NDC Class 59 The main purposes of the research are to analyze the results of the 2nd Asia Cooperation Dialogue (ACD) Summit and to propose promoting Thailand’s national interest in ACD cooperation framework. In order to get the academic suggestions, this qualitative research explored the ACD’s process and mechanism, Thailand’s role, the objectives and conclusions of the Summit, the Summit’s documents, the ACD Connect Business Forum’s outcomes, which were presented to the ACD government Leaders, and the interview with the related government and private sectors. This research shows that the Summit’s outcomes are in the same direction with Policy Statement of the Council of Ministers delivered by His Excellency Prime Minister General Prayut Chan-o-cha to the National legislation Assembly, Draft 20 years National Strategies Framework (B.E. 2560 - 2579), and Thailand’s national interests. Therefore, Thailand should continuously takes action, as suggested in the Bangkok Declaration and the ACD Blueprint 2017 – 2021, to achieve the ACD Vision for Asia Cooperation 2030. At the end, the research proposes that the leaders should recognize the ACD’s important to Thailand’ national interests and encourage the related government agencies to take action seriously and continuously. Furthermore, the leaders should strengthen the relationship with ACD’s other member states to increase the mutual confidence and decrease the conflicts. The research also suggests the government officers to immediately operate and implement the ACD Blueprint 2017 – 2021 and drive cooperation under 6 consolidated pillars forward. Finally, the research recommends the government officers to upgrade their skills and competencies to universal standard.