เรื่อง: แนวทางการเสริมสร้างประโยชน์ของไทยในกรอบความร่วมมือแห่งเอเซีย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว ดวงสุดา ศรียงค์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการเสริมสรางประโยชนของไทยในกรอบความรวมมือเอเชีย
ลักษณะวิชา การเมือง
ผูวิจัย นางสาวดวงสุดา ศรียงค หลักสูตร วปอ รุนที่59
เอกสารวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา วิเคราะหผลของการประชุมสุดยอดกรอบ
ความรวมมือเอเชีย ครั้งที่ 2 และเพื่อเสนอแนะแนวทางในการสงเสริมประโยชนของไทยภายใตกรอบ
ความรวมมือดังกลาว ใหบังเกิดผลที่เปนรูปธรรมยิ่งขึ้น โดยเนนการศึกษา วิเคราะห วิจัย เฉพาะ
รูปแบบ กลไกการดําเนินงาน บทบาทของไทย เปาหมายและผลที่ไดจากการประชุมสุดยอดฯ รวมทั้ง
จะเสนอแนวคิดหรือหลักการกวางๆ ในทางวิชาการ โดยไมพิจารณาลึกในรายละเอียดถึงแนวทางการ
ปฏิบัติงานของหนวยงานที่เกี่ยวของ
การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีแหลงขอมูลจากเอกสารที่เปนผลของการ
ประชุม สุดยอดกรอบความรวมมือเอเชีย ครั้งที่ 2 ขอแนะนําจากเวทีของภาคธุรกิจ ACD Connect
Business Forum และการสัมภาษณผูบริหารระดับสูงภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวของ โดยนําขอมูลที่
ไดมาศึกษา วิเคราะห เพื่อใหไดขอเสนอแนะแนวทาง ในการเสริมสรางประโยชนของไทยภายใตกรอบ
ความรวมมือเอเชีย
การวิจัยพบวา ผลของการประชุมสุดยอดฯ มีความสอดคลองและเปนไปในทิศทาง
เดียวกับกับคําแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีชุดปจจุบัน และเอกสารรางยุทธศาสตรชาติ ระยะ 20 ป
(พ.ศ. 2560 – 2579) ตลอดจนตอบสนองผลประโยชนของไทย ทั้งในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค
และระดับระหวางประเทศ ดังนั้น ไทยจึงควรผลักดันใหมีการดําเนินงานอยางตอเนื่อง ตามที่ไดกําหนด
ไวในปฏิญญากรุงเทพและแผนปฏิบัติการพิมพเขียว ค.ศ. 2017 – 2021 เพื่อบรรลุวิสัยทัศนเพื่อ
ความรวมมือของเอเชีย ค.ศ. 2030
ขอเสนอแนะ แบงเปนระดับนโยบาย ที่ผูนําจะตองตระหนักถึงความสําคัญและประโยชน
ที่ไทยจะไดรับ และผลักดันใหหนวยงานที่เกี่ยวของดําเนินการอยางจริงจังและตอเนื่อง รวมทั้งจะตอง
เรงสงเสริมความสัมพันธและความรวมมืออันดีและใกลชิดยิ่งขึ้นกับประเทศสมาชิกอื่นๆ ทั้งในระดับทวิ
ภาคีและระดับอนุภูมิภาค เพื่อชวยเสริมสรางความไวเนื้อเชื่อใจและลดความขัดแยง สวนระดับปฏิบัติ
จะตองเรงเสริมสรางความรูความเขาใจแกผูปฏิบัติใหเกิดความตระหนักและเล็งเห็นประโยชนที่ไทยจะ
ไดรับ เพื่อใหมีการปฏิบัติงานตามที่กําหนดไวในแผนปฏิบัติการพิมพเขียว ค.ศ. 2017 – 2021 โดยได
เสนอแนวทางในการดําเนินความรวมมือภายใต 6 เสาหลัก รวมทั้งจะตองมีการพัฒนาหนวยงานและ
บุคลากรใหมีความพรอม ทันตอการเปลี่ยนแปลงของโลก มีความเปนสากล
abstract:
ABSTRACT
Title An approach to promote Thailand’s national interest
Field Politics
Name Miss Duangsuda Sriyong Course NDC Class 59
The main purposes of the research are to analyze the results of the 2nd
Asia Cooperation Dialogue (ACD) Summit and to propose promoting Thailand’s
national interest in ACD cooperation framework. In order to get the academic
suggestions, this qualitative research explored the ACD’s process and mechanism,
Thailand’s role, the objectives and conclusions of the Summit, the Summit’s
documents, the ACD Connect Business Forum’s outcomes, which were presented to
the ACD government Leaders, and the interview with the related government and
private sectors. This research shows that the Summit’s outcomes are in the same
direction with Policy Statement of the Council of Ministers delivered by His
Excellency Prime Minister General Prayut Chan-o-cha to the National legislation
Assembly, Draft 20 years National Strategies Framework (B.E. 2560 - 2579), and
Thailand’s national interests. Therefore, Thailand should continuously takes action, as
suggested in the Bangkok Declaration and the ACD Blueprint 2017 – 2021, to achieve
the ACD Vision for Asia Cooperation 2030.
At the end, the research proposes that the leaders should recognize the
ACD’s important to Thailand’ national interests and encourage the related
government agencies to take action seriously and continuously. Furthermore, the
leaders should strengthen the relationship with ACD’s other member states to
increase the mutual confidence and decrease the conflicts. The research also
suggests the government officers to immediately operate and implement the ACD
Blueprint 2017 – 2021 and drive cooperation under 6 consolidated pillars forward.
Finally, the research recommends the government officers to upgrade their skills and
competencies to universal standard.