Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การแก้ปัญหายาเสพติดเพื่อสร้างความมั่นคงอย่างยังยืนตามแนวทางประชารัฐ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี ณัฐวุฒิ ชุณหะนันทน์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง การแกปญหายาเสพติดเพื่อสรางความมั่นคงอยางยั่งยืนตามแนวทางประชารัฐ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย พล.ต.ณัฐวุฒิ ชุณหะนันทน หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙ อําเภออมกอยจังหวัดเชียงใหม เปนพื้นที่ที่อยูหางไกลมีปญหาการแพรระบาดของฝน วัตถุประสงคของการวิจัยนี้ เพื่อศึกษาแนวทางประชารัฐในการแกปญหายาเสพติดเพื่อสราง ความมั่นคงอยางยั่งยืน โดยการศึกษาสถานการณและสภาพปญหาการดําเนินงานแกปญหายาเสพติด ของภาคประชาชนและหนวยงานภาครัฐ และการพัฒนาตามแนวทางประชารัฐในการแกปญหา ยาเสพติดเพื่อสรางความมั่นคงอยางยั่งยืนในพื้นที่อําเภออมกอย โดยใชระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ขอมูลไดจากการรวบรวมเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของ และการสัมภาษณเชิงลึกจากกลุมบุคคล ที่ผูเกี่ยวของในระดับพื้นที่ จํานวน ๓๐ คน และนําขอมูลมาวิเคราะหเนื้อหาเชิงคุณภาพ ผลการศึกษา พบวา อําเภออมกอยเปนพื้นที่ที่มีการแพรระบาดของฝนและมีการปลูกฝนเปนอันดับ ๑ ของประเทศ มีปญหาความยากจน ปลูกฝนเพื่อจําหนายเนื่องจากมีราคาสูงกวาผลผลิตทางการเกษตร ไมสามารถ เขาถึงบริการสาธารณสุขได จึงใชฝนเปนยารักษาโรคมีการเปดศูนยลดอันตรายจากการใชยา แตยังไมครอบคลุมทุกพื้นที่ การคมนาคมลําบาก บุคลากรที่ใหบริการดานสาธารณสุขไมเพียงพอ ผลการวิเคราะหSWOT Analysis รวมกับแนวทางประชารัฐในการแกไขปญหายาเสพติด สรุป ยุทธศาสตรได๖ ดานดังนี้๑. การจัดระบบและสรางกลไกกํากับดูแลเจาหนาที่ของภาครัฐ ๒. การบําบัดรักษา ๓. การเสริมสรางความเขมแข็งใหกับชุมชน ๔. การมีสวนรวมของประชาชน ๕. การจัดสรรบุคลากร ๖. การคมนาคมซึ่งปจจัยที่ทําใหการแกไขปญหายาเสพติดในพื้นที่ อําเภออมกอยประสบผลสําเร็จอยางยั่งยืนตามแนวคิดประชารัฐ ประกอบดวยการสนับสนุน จากผูบริหารการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานของชุมชน การมีสวนรวมของชุมชน การจัดระบบโครงสราง พื้นฐาน เสริมสรางดานการศึกษา ความกินดีอยูดี สรางอาชีพที่มั่นคง การคมนาคมที่สะดวก และ การเสริมสรางศักยภาพของผูนําและคนในชุมชน ชุมชนเขามามีสวนรวมรับรูถึงสถานการณปญหา ยาเสพติดแกปญหายาเสพติดในชุมชน รวมถึงการสรางเครือขายเพื่อรวมแกปญหา และการสนับสนุน จากภาครัฐขอเสนอแนะการวิจัยครั้งนี้ในดานการบริหารควรมีคณะกรรมการอํานวยการ ในการขับเคลื่อนงานในแตละยุทธศาสตร และการศึกษาในครั้งตอไปควรมีการวิจัยแบบผสมผสาน เพื่อใหไดขอมูลที่สะทอนใหเห็นขอเท็จจริง และนํามาเปนแนวทางในกําหนดการพัฒนาตามแนว ประชารัฐที่มีรายละเอียดชัดเจนมากยิ่งขึ้น

abstract:

ABSTRACT Title Drug Problem Resolutions for Sustainable Security through Civil State Approach Field Social - Psychology Name Maj Gen. Nathawut Junhanandana Course NDC Class 59 Omkoi is one of Chiang Mai districts where it locates in remote area and suffers from opium cultivation. This study aims at studying civil state approach in sustainably solving drugs and security problems in Omkoi district. It employs the qualitative approach to study the situation and problems in operation of civil society and government agencies by using document research and in-depth interviews with 30 key informants, then the data was qualitatively analyzed. The study found that Omkoi grows opium poppies the most in the country due to its higher return rates than normal agricultural products and health care services in Omkoi are difficult to access. Although there are harm reduction centers, they are not covered in all areas and still lack of health care personnel. The results from SWOT analysis together with civil state approach found 6 strategies including 1. Establishing state mechanism 2.Treatment 3.Community empowerment 4.People participation 5.Personnel allocation 6.Transportation. Key success factors for the success of opium resolution are: continuation support from the executives; local participation; basic infrastructure provision; educational promotion; well-being of local people; secured occupation; accessible transportation; leader capacity building and people engagement in problem solving processes in order to create networks between governmental agencies and civil society. The suggestions from the study is that there should be directing committee in each strategy and the future research should employ mixed methods in order to get more data so that it can better craft the policy according to the civil state approach.