เรื่อง: การบริหารจัดการความมั่นคงรูปแบบใหม่ของกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรในทศวรรษหน้า (2560-2570)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลโท ณัฐพล นาคพาณิชย์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง การบริหารจัดการความมั่นคงรูปแบบใหม่ของกองอ านวยการรักษาความมั่นคงภายใน
ราชอาณาจักรในทศวรรษหน้า (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๗๐)
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พลโท ณัฐพล นาคพาณิชย์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๙
กา รวิจัยเรื่อง การบริหา รจัดกา รความมั่นคงรูปแบบใหม่ของกองอ านวยกา ร
รักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรในทศวรรษหน้า (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๗๐) มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ศึกษ าสภาวะแวดล้อมด้านความมั่นคง และแนวโน้มสถานการณ์ความมั่นคงในอน าคต
และเพื่อศึกษาการบริหารจัดการความมั่นคงภายในราชอาณาจักรของกองอ านวยการรักษาความมั่นคง
ภายในราชอาณาจักรในห้วงที่ผ่านมา และเสนอแนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการความมั่นคง
ของกองอ านวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรในทศวรรษหน้า (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๗๐)
ขอบเขตการวิจัยด้านเนื้อหาเป็นการศึกษาสภาพแวดล้อมทางความมั่นคง ครอบคลุมด้านการเมือง
เศรษฐกิจ สังคม การทหาร และยุทธศาสตร์ที่ส่งผลต่อการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
ส าหรับขอบเขตด้านช่วงเวลาได้ก าหนดระยะเวลาศึกษาการบริหารจัดการความมั่นคงของ
กองอ านวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ตั้งแต่ ปี ๒๕๕๑ จนถึงปัจจุบันปี ๒๕๖๐
การศึกษาวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การศึกษาเอกสาร งานวิจัย ทฤษฎี และข้อมูล
ที่เกี่ยวข้องทั้งข้อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ แล้ววิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์สร้างข้อสรุปอุปนัย
(Analytic Induction) ควบคู่และเชื่อมโยงกับการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth Interview) โดยท าการ
สัมภาษณ์ผู้บังคับบัญชา และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในระดับผู้บริหาร
ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการบริหารจัดการความมั่นคงของกองอ านวยกา ร
รักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรในทศวรรษหน้า (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๗๐) ควรใช้ยุทธศาสตร์
เชิงแก้ไข เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาโดยใช้โอกาสที่มีอยู่และการแก้ไขจุดอ่อน โดยมีพันธกิจ
ที่ส าคัญ ๒ ส่วน คือ ๑) การเตรียมความพร้อมภายในของกองอ านวยการรักษาความมั่นคงภายใน
ราชอาณาจักร ได้แก่ ด้านบุคลากร ด้านทรัพยากร ด้านการบริหารจัดการ ด้านทักษะและองค์ความรู้
๒) การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักรภายใต้กระบวนทัศน์ความมั่นคงใหม่ ได้แก่ การพัฒนาสู่
องค์การที่เป็นมืออาชีพด้านความมั่นคงภายในราชอาณาจักรโดยการสร้างกลไกคิดไปข้างหน้า
การวิจัยและพัฒนาการพัฒนาไปสู่องค์การแห่งการบูรณาการโดยการสร้างกลไกบูรณาการของบุคลากร
ทุกฝ่าย และการพัฒนาไปสู่องค์การแห่งการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์โดยการประเมินยุทธศาสตร์
ในทุกระดับ การประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้น และการสร้างระบบบริหารจัดการความมั่นคง
ในยุคประเทศไทย ๔.๐ เพื่อให้กองอ านวยกา รรักษ าความมั่นคงภายในราชอาณ าจักร
เป็นองค์การแห่งการพัฒนาใน ๓ ด้าน คือ องค์การแห่งการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์
องค์การมืออาชีพในการบริหารจัดการความมั่นคงภายในราชอาณาจักร และองค์การแห่งการ
บูรณาการที่มีความพร้อมในการบริหารจัดการความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ภายใต้กระบวนทัศน์
ความมั่นคงใหม่ในทศวรรษหน้า
abstract:
ABSTRACT
Title Reformation of Security Management of The Internal Security Command
(ISOC) for The Next Decade (2561 - 2570)
Field Military
Name Lieutenant General Nattaphon Narkphanit Course NDC. Class 59
The objectives of this research entitled “Reformation of security management of
the Internal Security Command for the next decade (2561 - 2570)” are to make assessment on
security situation and it’s future trends (2561 - 2570), to study the security management of the
Internal Security Command from the past, and to give recommendations for security
management in the next decade (2561 - 2570). The study focused on the study of security
environment including politics, economics, socials, military and strategies effecting to the internal
security management. The study has covered the period from 2551 to 2560. It used qualitative
approach by using research papers, theories and primary and secondary relevance information.
The analytic induction was used together with in-depth interview.
The research concluded that security management of the Internal Security
Command for the next decade (2561 -2570) must apply WO Strategy. The core missions should
be 1) internal preparation within ISOC (personnel, resources, management, Skills and Knowledge)
2) internal security operations under the new security context such as development to
professional organization in internal security by constructing forward thinking mechanisms,
research and developments, development to highly integrated organization by constructing
mechanisms for human resources integration and deployment to strategic management
organization. The most important aspects are human resources development, skills and
knowledges by defining mechanism for personnel development, skills and knowledge
development, and think ahead. The 3 main focuses for development are strategic driven
organization, professional’s organization for internal security management, and integration that is
ready for internal security management for the next decade.