Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การแก้ไขปัญหาความมั่นคงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ด้วยการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก : กรณีศึกษาการพัฒนาระบบการผลิตและการตลาดผลไม้ลองกอง

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ณรงค์ วุ่นซิ้ว
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย อ บทคัดย อ เรื่อง เรื่อง การแกไขปญหาความมั่นคงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตดวยการพ การแกไขปญหาความมั่นคงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใตดวยการพัฒนาเศรษฐกิจ นาเศรษฐกิจ ฐานราก กรณีศึกษาการพัฒนาระบบการผลิตและการตลาดผลไมลองกอง ลักษณะวิชา ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ การเศรษฐกิจ การเศรษฐกิจ ผูวิจัย ผูวิจัย นายณรงค/ วุ นซิ้ว นายณรงค/ วุ นซิ้ว นายณรงค/ วุ นซิ้ว หลักสูตร วปอ. รุ นที่ หลักสูตร วปอ. รุ นที่ หลักสูตร วปอ. รุ นที่ ๕๙ การศึกษาวิจัยฉบับนี้เป7นการศึกษาถึงแนวทางการแกไขปญหาความมั่นคงในพื้นที่จังหวัด ชายแดนภาคใตดวยการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก โดยมุ งศึกษาการพัฒนาระบบการผลิตและ การตลาดลองกองในพื้นที่ 3 จังหวัด ไดแก จังหวัดปตตานี จังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส ในฤดูกาลผลิต 2559 เนื่องจากลองกองเป7นพืชเศรษฐกิจที่สําคัญในพื้นที่ดังกล าว และมีปริมาณ ผลผลิตออกสู ตลาดประมาณปAละ ๒๕,๐๐๐ ตัน แต พบว า เกษตรกรส วนใหญ เป7นรายย อย และ ไม ค อยบํารุงรักษาหรือตัดแต งกิ่งตนลองกอง ผลผลิตจึงไม ไดคุณภาพ ขายไม ไดราคา อีกทั้งการสนับสนุน ใหความรูเพื่อนําไปแกไขปญหาที่ผ านมายังไม เป7นระบบขาดความเชื่อมโยง จึงมีการจัดตั้งคณะทํางาน โครงการปรับปรุงแกไขพัฒนาระบบการผลิตและการตลาดของลองกองในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต ใหมีประสิทธิภาพ การศึกษาวิจัยฉบับนี้มุ งศึกษาเรื่อง Context Input process และ product (Output/Outcome) ของการพัฒนาระบบการผ ลิตแล ะการตล าดล องกองในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต เพื่อใหทราบถึงความเป7นมาและแนวทางของการพัฒนาระบบ นําขอมูลจากการสัมภาษณ/เชิงลึก ผลการดําเนินงาน ปญหาและอุปสรรคมาวิเคราะห/ ในมิติดานเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคง จนไดขอสรุป ขอเสนอแนะและแนวทางการแกไข ปญหาซึ่งเป7นพื้นฐานที่สําคัญสําหรับดําเนินการโครงการในปA พ.ศ. ๒๕๖๐ และปAต อไป ผลจากการดําเนินงานโครงการดังกล าว ถือว าประสบความสําเร็จในระดับหนึ่ง เปรียบเทียบระหว างรายไดที่เพิ่มขึ้นของเกษตรกรที่เขาร วมโครงการกับเกษตรกรที่ไม ไดเขาร วมโครงการ แมจะยังมีประเด็นที่จะตองพัฒนาแนวทางใหมีประสิทธิภาพยั่งยืนในหลายประเด็น แต หากผูมี ส วนเกี่ยวของไดมีการพัฒนาและดําเนินการไปอย างต อเนื่อง จะสามารถทําใหความเป7นอยู ของ ชาวสวนลองกองในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใตมีความเป7นอยู ที่ดีขึ้น รวมทั้งส งผลดีต อ เศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคง เพื่อแกไขปญหาของประชาชนในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดน ภาคใต ไดอย างมั่นคงต อไป

abstract:

ABSTRACT ABSTRACT BSTRACT Title: Resolving the security problem in the southern border provinces by developing of preliminarily economy: case study; the development of Longkong productions and Marketing Subject category: Economics Researcher: Mr. Narong Woonciew Course NDC Class 59 This research aims to address the security problem in the Southern Border Provinces; Yala, Pattani, and Narathiwat, by the study of development in preliminarily economy particularly in Longkong productions and marketing sectors. It found that even though the Lonkong production is crucial for the southern border economy, and the southern provinces have produced 25,000 tons of Longkong in 2016, nonetheless the farmers are lack of the proper production and marketing knowledge. The Longkong production therefore not met the quality as well as the satisfied price, thus, the committee to improve Longkong production and marketing has been established. This paper focuses on the production of Longkong production in 2016 production round to analyze the role of the Longkong production promotion working group in Southern Border provinces in social, economic and security dimensions to address the security problem in those provinces by used of in-depth interview to collect the data. It concluded that even though the improvement of Longkong production in three southern provinces has succeeded, there are some recommendations to suggest for continuously and substantially improved in farmers' living standard in future which could contribute to the permanently resolve the security problem in the deep south.