เรื่อง: ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความสัมพันธ์ตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา : ศึกษาเฉพาะกรณีแนวชายแดนในพื้นที่รับผิดชอบของ กองบัญชาการป้องกันชายแดน จันทบุรี – ตราด
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาวาเอก บำรุงรัก สรัคคานนท์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรืÉอง ยทุ ธศาสตร
์
การเสริมสร
้
างความสมั พนัธ
์
ตามแนวชายแดนไทย – กมพูชา : ั
ศึกษาเฉพาะกรณีแนวชายแดนในพืÊนทีÉรบัผิดชอบของกองบญั ชาการป้
องกนั
ชายแดน จนั ทบุรี– ตราด
ลักษณะวชิา ยทุ ธศาสตร
์
ผ
ู้วจิยั นาวาเอก บาํรุงรัก สรัคคานนท ์ หลกั สูตร วปอ . รุ่นท ีÉ 56
การวิจยันÊีเป็นการวิจยัเชิงพรรณนา มีวตัถุประสงคเ์พÉือ :ศึกษาสถานการณ์ความสัมพนัธ์และ
ปัญหาความขดัแยง้ตามแนวชายแดนไทย –กมั พูชา ในพÊืนทีÉรับผิดชอบของกองบญั ชาการป้องกนั ชายแดน
จนั ทบุรี– ตราด วิเคราะห์ปัญหาความสัมพนั ธ์และพฒั นายุทธศาสตร์การเสริมสร้างความสัมพนั ธ์ระหว่าง
ไทย – กมั พูชาตามแนวชายแดนจนั ทบุรี– ตราด การเก็บขอ้ มูล ทาํโดยวิธีคุณภาพ Ś วิธี คือ การศึกษาจาก
เอกสาร (Documentation study) และการสัมภาษณ์ เชิงลึกกับผูใ้ห้ข้อมูลสําคญั (Key Informants) řş คน
ประกอบดว้ยทหาร ตาํรวจ พลเรือน และประชาชน จากการศึกษาพบว่า ขอ้ มูลสถานการณ์ความสัมพนั ธ์
และปัญหาความขดัแยง้ตามแนวชายแดน ทีÉได้จากทัÊง Ś วิธี มีความสอดคล้องกันในประเด็นทีÉสําคัญ คือ
สถานการณ์ในภาพรวม อยใู่ นภาวะปกติมีความขดัแยง้ไม่รุนแรงเกิดขÊนเฉลี ึ Éยปี ละ ř – 2 ครัÊง ชาวไทยและ
ชาวกมัพูชามีความสัมพนัธ์และมีทศันคติทีÉดีต่อกนั สถานการณ์ความขดัแยง้ส่งผลต่อความเป็นอยแู่ ละความ
ปลอดภยัในชีวิตและทรัพยส์ินของประชาชน สาเหตุของความขดัแยง้มาจากรากเหง้าทางประวตัิศาสตร์
ผลประโยชน์ทีÉเกิดจากการทบั ซ้อนของพÊืนทีÉ ปัญหาเศรษฐกิจ นโยบายการเมือง ปัญหาทางสังคมจิตวิทยา
และปัญหาการสืÉอสาร
ผูใ้ห้ขอ้ มูลสําคญั ไดป้ ระเมินความเป็นไปไดแ้ละอุปสรรคของการพฒั นาความสัมพนัธ์ระหว่าง
ไทย – กัมพูชา โดยการประเมินจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภาวะคุกคามจากปัจจัยภายในภายนอก
ซึÉงผู้วิจยัไดน้ าํ มาวเิคราะห์ดว้ยวิธีSWOT analysisและ TOWS MATRIX จดัลาํดบัความสาํคญั ดว้ยเกณฑ์การ
ให้คะแนน เพืÉอทาํ เป็นยุทธศาสตร์ เชิงรุก เชิงรับ เชิงปรับแก้และเชิงป้องกนั ตนเอง แลว้กาํ หนดแผน
ยุทธศาสตร์แม่บทในการพฒั นาความสัมพนธ์และประเด็นยุทธศาสตร์พร้อมทั ั Êงกลยุทธ์ทีÉจะนาํไปปฏิบัติได้ใน
ś ประเด็นคือ ข
1. การพฒั นาระบบการสร้างความสัมพนัธ์ไทย –กมัพชู า ชายแดนจนั ทบุรี– ตราด
2. การร่วมมือและการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
3. การบริหารจดัการ
ผู้วิจัยเสนอแนะให้นําเสนอกองทัพเรือพิจารณาเป็นโครงการนําร่องทดลองนําแผน
ยทุ ธศาสตร์ลงปฏิบตัิตามแผนแม่บทในระยะเวลา Ś ปี เมืÉอประเมินผลลพั ทแ์ละแกไ้ขให้บรรลุตามเกณฑ์ชÊีวดัแลว้
จึงพฒั นาเป็นรูปแบบจาํลอง (Model) เสนอรัฐบาลเพืÉอรับเป็นนโยบายสาํ หรับนาํไปขยายผลหรือประยุกตใช้ ์
ในพืÊนทีÉชายแดนอืÉนๆ โดยตอ้งมีการเตรียมความพร้อมและฝึกซ้อมดว้ยกนั ทุกภาคส่วนก่อนนาํไปปฏิบตัิ
abstract:
Abstract
Titie Thai - Cambodian Border Relationship Enhancing Strategy : Case Study
of the border areas under the supervision of Chantaburi – Trat Border
Defence Command
Field Strategy
Name Captain Bumrungrak Saraggananda Course NDC. Class 56
This research is a descriptive research and has the following objectives: 1) to study the
relationship situation and conflict problem in the Thai – Cambodia border area under the designated
authority of the Chanthaburi – Trad border defence command and 2) to analyze the problem within the
relationship and 3) to develop strategies that will enable a better relationship along the Thai - Combodian
border in Trat and Chanthaburi provinces. The study uses qualitative research for data collection with two
main sources – documentary research of related archives and in - depth interviews with a total of 17 key
informants comprising policemen, members of the armed forces, civilians, and members of the general
public.
The study finds clear concurrence between data collected from the two main sources in
that the general situation is quite conflict – free, with clashes taking place only once or twice every
year. Both Thais and Cambodians residing in the area have good relationship and attitudes towards
one another. But the insurgency situation has affected the well –being and safety of life and property of
the residents in the area. The cause of the conflict is rooted in history, conflicting interests from
overlapping borders, economic problem, political policy, socio – psychological problem, and
communication problem.
The key informants have assessed the possibility and obstacles in developing the Thai –
Cambodian relationship by unraveling the strengths, weaknesses, opportunities, and threats, as well as
internal and external factors of the situation. Based on this, the researcher has processed the information
with a SWOT analysis, TOWS MATRIX, and prioritizing with a rating criteria in order to develop pro –
active, reactive, resolving, and preventive strategies before mapping a strategic master plan. The master
plan will be instrumental in developing the relationship goal, strategic points, implementation strategies
in three important areas: ง
1) Development of Thai – Cambodian relationship along the Chanthaburi – Trad border;
2) Cooperation and collaboration of all related sectors;
3) Management of the strategic plan
The researcher proposes that the Royal Thai Navy consider adopting the recommended
strategic master plan as a pilot project for actual implementation in a period of two years. This is so that
the output can be evaluated and amended as seen fit in order to achieve the developed rating criteria. After
this process is accomplished, it can be further developed into a model to the proposed to the government to
adopt as a policy, or to expand use or application for other border areas. However, sufficient preparation
and training will need to be carried out by all related sectors before actual implementation phase.