เรื่อง: ปัจจัยที่ส่งผลต่อผู้ประนีประนอมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง ณฐพร ชลายนนาวิน
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง : ปจจัยที่สงผลตอผูประณีประนอมในการไกลเกลี่ยขอพิพาท
ลักษณะวิชา : สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย : นางณฐพร ชลายนาวิน หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙
การศึกษาวิจัยเรื่องปจจัยที่สงผลตอผูประนีประนอมในการไกลเกลี่ยขอพิพาท
มีวัตถุประสงค เพื่อ (๑) ศึกษากระบวนการสรรหาและการพัฒนาผูประนีประนอมตลอดจนการดํารง
ตนของการเปนผูประนีประนอมตามหลักกฎหมายไทย(๒) เพื่อศึกษาปญหาอุปสรรคของผูประนีประนอม
และผูทําหนาที่ในการไกลเกลี่ยขอพิพาท (๓) เพื่อศึกษาวิเคราะหปจจัยที่สงผลตอการดํารงตนของ
ประนีประนอม และ ๔) เพื่อคนหามาตรการและแนวทางในการพัฒนาตนเองและการดํารงตนของ
ผูประนีประนอม โดยใชวิธีการวิจัยใชวิธีการศึกษาตามเทคนิคและระเบียบวิธีการวิจัยในเชิงคุณภาพ
(Qualitative Research) การสัมภาษณการเก็บขอมูล อาศัยเก็บรวบรวมขอมูลจากผูประนีประนอม
และผูไกลเกลี่ย และผูเชี่ยวชาญดานการประนีประนอมการไกลเกลี่ย
ผลการศึกษาพบวา (๑) กระบวนการสรรหาและการพัฒนาผูประนีประนอมตามหลัก
กฎหมายไทยนั้นไดมีการกําหนดไวเปนมาตรฐานของกระบวนการสรรหาอันประกอบไปดวย การรับสมัคร
การกลั่นนกรอง การสอบ และการสัมภาษณ ตลอดจนมีการอบรมใหความรูทั้งในเรื่องคุณธรรม
จริยธรรม และขอกําหนดแหงการดํารงตนในการเปนผูนําหนาที่ไกลเกลี่ยขอพิพาท (๒) ปญหาอุปสรรค
ของผูประนีประนอมและผูทําหนาที่ในการไกลเกลี่ยขอพิพาท ผลการศึกษาพบวา ปญหาการขาดแคลน
ผูที่มีความรูและมีความเขาใจตอการไลเกลี่ยขอพิพาท การสับสนและการไมเขาใจถึงบทบาทที่แทจริง
ของการเปนผูไกลเกลี่ยขอพาทปญหาการไมไดรับความรวมมือจากคูขัดแยงที่มองไมเห็นความสําคัญ
ของไกลเกลี่ยขอพิพาททําใหกระบวนการไกลเกลี่ยเปนไปดวยความยากลําบาก ปญหาของ
ผลประโยชนทับซอนของผูไกลเกลี่ยและคูขัดแยง และปญหาในเชิงระบบและกฎไกทางกฎหมายที่เปน
อุปสรรคตอการไกลเกลี่ยขอพิพาท (๓) ปจจัยที่สงผลตอการดํารงตนของประนีประนอม ประกอบไป
ดวย ปจจัยดานขอกําหนดในการปฏิบัติหนาที่เปนปจจัยสําคัญตอการดํารงตนของผูประนีประนอม ซึ่ง
มีความสําคัญมากที่สุดและมีการกลาวถึงอยางมากในการเปนขอพึ่งปฏิบัติที่เครงครัดของผูดํารงตน
รวมถึง ปจจัยดานประสบการณและความรูความ สามารถเฉพาะของผูทําหนาที่ไกลเกลี่ย โดยยิ่งมี
ประสบการณ และมีความชํานาญ ตลอดจนเปนผูมีความเชี่ยวชาญในการไกลเกลี่ยขอพิพาท เปนปจจัย
หนึ่งที่สงผลตอการดํารงตนของผูประนีประนอม และ (๔) มาตรการและแนวทางในการพัฒนาตนเอง
และการดํารงตนของผูประนีประนอม ประกอบไปดวย การสงเสริมความรูและความเขาใจตอแนว
ทางการพัฒนาการดํารงตนของผูประนีประนอม การใหการอบรมใหความรูอยางเพียงพอและความ
เขาใจที่ถูกตองตอการทําหนาที่ของผูดํารงตน รวมถึงการสงเสริมและพัฒนาศักยภาพในดานอื่นๆ ดวย
เปนตน รวมถึงการทําความเขาใจและเนนย้ําวากระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาท โดยใชผูประนีประนอม
ประจําศาล เปนกระบวนการแกไขปญหาความขัดแยงในทางสังคมรูปแบบหนึ่ง โดยการแสวงหา
ทางออกรวมกันระหวางผูกระทําผิดกับผูเสียหาย หรือคูกรณีที่เปนเหตุแหงความขัดแยง กระบวนการ
ไกลเกลี่ยเปนรูปแบบทางออกในการแกไขปญหาทางสังคมรวมกันและการสรางกระบวนการยุติธรรมข
ทาวงเลือกอื่นๆ ในการลงโทษ การชดใชความเสียหายและความผิดอันเกิดจากความผิดพลาดนั้น โดย
ใหคูกรณีมีการพูดคุยและปฏิสัมพันธกันเพื่อลดอคติและความขัดแยงระหวางกันนอกจากนั้นยังสราง
ใหเกิดความสมานฉันทและไมตรีตอกันเมื่อความขัดแยงนั้นสิ้นสุดลง ฉะนั้นการไกลเกลี่ยขอพิพาทที่ใช
คนกลาง หรือผูไกลเกลี่ยตามหลักการทั้งทางโลกและทางธรรมนั้น ตางมีความเห็นและจุดยืนรวมกัน
ในหลายประการที่วาจริยธรรมของผูไกลเกลี่ยนั้น ผูไกลเกลี่ยขอพิพาทจะตองประกอบไปดวยหลักการ
ของความเปนธรรม ความซื่อสัตย (ซึ่งประกอบไปดวย การไมแสวงหาผลประโยชนจากคูกรณี หรือ
การรักษาความลับของทั้งสองฝาย เพื่อความเปนธรรมในการเสนอแนะทางออกและการปองกัน
ปญหาหลังจากนั้น) ความเปนกลางไมโนมเอียง และการเปนผูรูจริงในการแสวงหาทางออกหรือการ
แกไขปญหาดวยความยุติธรรม เพื่อนําไปสูการแกไขปญหาและทางออกที่เปนประโยชนแกทุกคนใน
สังคมทั้งตอคูกรณี และสังคมที่จะไดเรียนรูและหาทางแกไขปญหาความขัดแยงรวมกัน ซึ่งถือ วานัย
ของการไกลเกลี่ยขอพิพาท คือ การทําใหสังคมเกิดความรูในการสรางสังคมที่สันติรวมกันอีกดวย
นอกจากนั้นแนวทางในการพัฒนาใหเกิดประสิทธิภาพควรจะตองมีการหรือกรจัดการความรูในเรื่อง
ของการไกลเกลี่ยขอพิพาทในแตละราย ซึ่งจะเปนแนวทางและการสงเสริมใหเกิดความรูความเขาใจ
และกรณีศึกษาที่จะเปนแนวทางในการทําหนาที่ไกลเกลี่ยไดอยางมีประสิทธิภาพในอนาคตดวย
ในสวนของขอเสนอแนะนั้น ประกอบไปดวย (๑) การสงเสริมและใหความรูความเขาใจ
ที่ถูกตองตอการประนีประนอมและการไกลเกลี่ยเพื่อลดคดีและการใหความสําคัญกับกระบวนการ
ยุติธรรมทางเลือกที่ประสานประโยชนรวมกันของผูขัดแยง (๒) ปรับปรุงกฎหมายและกฎหมายที่เปน
อุปสรรคตอการไกลเกลี่ยขอพิพาท และ (๓) การสรางระเบียบ กฎหมาย ขอบังคับที่สงเสริมและเปน
เครื่องมือใหการไกลเกลี่ยขอพิพาทไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการสรางการยอมรับและการให
สังคมเห็นถึงประโยชนตอการไกลาเกลี่ยพิพาทและ (๔) สรางเครื่องมือและการประเมินผลสําหรับการ
พัฒนาศัพยภาพ และการพัฒนาคุณสมบัติของผูทําหนาที่ในการไกลเกลี่ยขอพิพาท เพื่อเปนการ
ยกระดับและการพัฒนาความสามารถของผูดํารงตนที่ปฏิบัติหนาที่ในการเปนผูไกลเกลี่ยขอพิพาท
abstract:
ABSTRACT
Title : Factors Affecting Mediator in Mediation of Dispute
Field : Social - Psychology
Name : Mrs.Nathaporn Jalayananavin Course NDC Class 59
The objectives of this research were as follows: (1) to study the process
of recruiting and developing for conciliator, as well as the ecumenism of conciliator
under Thai law (2) to study the impediments for conciliator in dispute resolution. (3)
to analyze the factors affecting mediator in conciliation (4) to find measures and
guidelines for self-improvement and the ecumenism of conciliators. Research
method of this paper was qualitative research methodology which data collection
has been obtained from conciliators’ interview.
The study indicated that 1) the process of recruiting and developing for
conciliator according to Thai law has been defined as the standard recruitment
process. This included recruitment, qualifying, testing and interviewing. Additionally, it
also provided training in both ethics and the requirements for being a leader in
mediation. 2) The impediments for conciliator in dispute resolution were including
2.1) lacking of knowledge and understanding of disputes 2.2) confusing and
misunderstanding of the role of conciliator 2.3) lacking of cooperation and attention
from a conflicting parties. 2.4) conflicting of interests between mediators and
conflicting parties. 2.5) Obstacle of legal process which affected dispute resolution 3)
The factors affecting mediator in conciliation were including standards for the
professional practice which was the most important for conciliators. Moreover; the
experience and expertise of conciliators, who have more experience and skillful they
will be specialist in dispute resolution as well. 4) Improvement of knowledge and
understanding of disputes, providing the training to increase understanding level of
the role and other potential are the basic element of measures and guidelines for
self-improvement and the ecumenism of conciliator. Moreover; emphasis that
Dispute Resolution Process by conciliators was the process generated for negotiation
among conflicting parties by involving conflicting parties to make the most
satisfactory outcome to their position.
It was recommended that (1) providing accurate understanding of
compromise and mediation in order to reduce the case and negotiate among
conflicting parties. (2) Improving or revising the laws that hinder mediation process.
(3) Creating the regulations, laws, and some mechanisms which can support and
improve the mediation process of disput