Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ปัจจัยที่ส่งผลต่อผู้ประนีประนอมในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง ณฐพร ชลายนนาวิน
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง : ปจจัยที่สงผลตอผูประณีประนอมในการไกลเกลี่ยขอพิพาท ลักษณะวิชา : สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย : นางณฐพร ชลายนาวิน หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙ การศึกษาวิจัยเรื่องปจจัยที่สงผลตอผูประนีประนอมในการไกลเกลี่ยขอพิพาท มีวัตถุประสงค เพื่อ (๑) ศึกษากระบวนการสรรหาและการพัฒนาผูประนีประนอมตลอดจนการดํารง ตนของการเปนผูประนีประนอมตามหลักกฎหมายไทย(๒) เพื่อศึกษาปญหาอุปสรรคของผูประนีประนอม และผูทําหนาที่ในการไกลเกลี่ยขอพิพาท (๓) เพื่อศึกษาวิเคราะหปจจัยที่สงผลตอการดํารงตนของ ประนีประนอม และ ๔) เพื่อคนหามาตรการและแนวทางในการพัฒนาตนเองและการดํารงตนของ ผูประนีประนอม โดยใชวิธีการวิจัยใชวิธีการศึกษาตามเทคนิคและระเบียบวิธีการวิจัยในเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) การสัมภาษณการเก็บขอมูล อาศัยเก็บรวบรวมขอมูลจากผูประนีประนอม และผูไกลเกลี่ย และผูเชี่ยวชาญดานการประนีประนอมการไกลเกลี่ย ผลการศึกษาพบวา (๑) กระบวนการสรรหาและการพัฒนาผูประนีประนอมตามหลัก กฎหมายไทยนั้นไดมีการกําหนดไวเปนมาตรฐานของกระบวนการสรรหาอันประกอบไปดวย การรับสมัคร การกลั่นนกรอง การสอบ และการสัมภาษณ ตลอดจนมีการอบรมใหความรูทั้งในเรื่องคุณธรรม จริยธรรม และขอกําหนดแหงการดํารงตนในการเปนผูนําหนาที่ไกลเกลี่ยขอพิพาท (๒) ปญหาอุปสรรค ของผูประนีประนอมและผูทําหนาที่ในการไกลเกลี่ยขอพิพาท ผลการศึกษาพบวา ปญหาการขาดแคลน ผูที่มีความรูและมีความเขาใจตอการไลเกลี่ยขอพิพาท การสับสนและการไมเขาใจถึงบทบาทที่แทจริง ของการเปนผูไกลเกลี่ยขอพาทปญหาการไมไดรับความรวมมือจากคูขัดแยงที่มองไมเห็นความสําคัญ ของไกลเกลี่ยขอพิพาททําใหกระบวนการไกลเกลี่ยเปนไปดวยความยากลําบาก ปญหาของ ผลประโยชนทับซอนของผูไกลเกลี่ยและคูขัดแยง และปญหาในเชิงระบบและกฎไกทางกฎหมายที่เปน อุปสรรคตอการไกลเกลี่ยขอพิพาท (๓) ปจจัยที่สงผลตอการดํารงตนของประนีประนอม ประกอบไป ดวย ปจจัยดานขอกําหนดในการปฏิบัติหนาที่เปนปจจัยสําคัญตอการดํารงตนของผูประนีประนอม ซึ่ง มีความสําคัญมากที่สุดและมีการกลาวถึงอยางมากในการเปนขอพึ่งปฏิบัติที่เครงครัดของผูดํารงตน รวมถึง ปจจัยดานประสบการณและความรูความ สามารถเฉพาะของผูทําหนาที่ไกลเกลี่ย โดยยิ่งมี ประสบการณ และมีความชํานาญ ตลอดจนเปนผูมีความเชี่ยวชาญในการไกลเกลี่ยขอพิพาท เปนปจจัย หนึ่งที่สงผลตอการดํารงตนของผูประนีประนอม และ (๔) มาตรการและแนวทางในการพัฒนาตนเอง และการดํารงตนของผูประนีประนอม ประกอบไปดวย การสงเสริมความรูและความเขาใจตอแนว ทางการพัฒนาการดํารงตนของผูประนีประนอม การใหการอบรมใหความรูอยางเพียงพอและความ เขาใจที่ถูกตองตอการทําหนาที่ของผูดํารงตน รวมถึงการสงเสริมและพัฒนาศักยภาพในดานอื่นๆ ดวย เปนตน รวมถึงการทําความเขาใจและเนนย้ําวากระบวนการไกลเกลี่ยขอพิพาท โดยใชผูประนีประนอม ประจําศาล เปนกระบวนการแกไขปญหาความขัดแยงในทางสังคมรูปแบบหนึ่ง โดยการแสวงหา ทางออกรวมกันระหวางผูกระทําผิดกับผูเสียหาย หรือคูกรณีที่เปนเหตุแหงความขัดแยง กระบวนการ ไกลเกลี่ยเปนรูปแบบทางออกในการแกไขปญหาทางสังคมรวมกันและการสรางกระบวนการยุติธรรมข ทาวงเลือกอื่นๆ ในการลงโทษ การชดใชความเสียหายและความผิดอันเกิดจากความผิดพลาดนั้น โดย ใหคูกรณีมีการพูดคุยและปฏิสัมพันธกันเพื่อลดอคติและความขัดแยงระหวางกันนอกจากนั้นยังสราง ใหเกิดความสมานฉันทและไมตรีตอกันเมื่อความขัดแยงนั้นสิ้นสุดลง ฉะนั้นการไกลเกลี่ยขอพิพาทที่ใช คนกลาง หรือผูไกลเกลี่ยตามหลักการทั้งทางโลกและทางธรรมนั้น ตางมีความเห็นและจุดยืนรวมกัน ในหลายประการที่วาจริยธรรมของผูไกลเกลี่ยนั้น ผูไกลเกลี่ยขอพิพาทจะตองประกอบไปดวยหลักการ ของความเปนธรรม ความซื่อสัตย (ซึ่งประกอบไปดวย การไมแสวงหาผลประโยชนจากคูกรณี หรือ การรักษาความลับของทั้งสองฝาย เพื่อความเปนธรรมในการเสนอแนะทางออกและการปองกัน ปญหาหลังจากนั้น) ความเปนกลางไมโนมเอียง และการเปนผูรูจริงในการแสวงหาทางออกหรือการ แกไขปญหาดวยความยุติธรรม เพื่อนําไปสูการแกไขปญหาและทางออกที่เปนประโยชนแกทุกคนใน สังคมทั้งตอคูกรณี และสังคมที่จะไดเรียนรูและหาทางแกไขปญหาความขัดแยงรวมกัน ซึ่งถือ วานัย ของการไกลเกลี่ยขอพิพาท คือ การทําใหสังคมเกิดความรูในการสรางสังคมที่สันติรวมกันอีกดวย นอกจากนั้นแนวทางในการพัฒนาใหเกิดประสิทธิภาพควรจะตองมีการหรือกรจัดการความรูในเรื่อง ของการไกลเกลี่ยขอพิพาทในแตละราย ซึ่งจะเปนแนวทางและการสงเสริมใหเกิดความรูความเขาใจ และกรณีศึกษาที่จะเปนแนวทางในการทําหนาที่ไกลเกลี่ยไดอยางมีประสิทธิภาพในอนาคตดวย ในสวนของขอเสนอแนะนั้น ประกอบไปดวย (๑) การสงเสริมและใหความรูความเขาใจ ที่ถูกตองตอการประนีประนอมและการไกลเกลี่ยเพื่อลดคดีและการใหความสําคัญกับกระบวนการ ยุติธรรมทางเลือกที่ประสานประโยชนรวมกันของผูขัดแยง (๒) ปรับปรุงกฎหมายและกฎหมายที่เปน อุปสรรคตอการไกลเกลี่ยขอพิพาท และ (๓) การสรางระเบียบ กฎหมาย ขอบังคับที่สงเสริมและเปน เครื่องมือใหการไกลเกลี่ยขอพิพาทไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมถึงการสรางการยอมรับและการให สังคมเห็นถึงประโยชนตอการไกลาเกลี่ยพิพาทและ (๔) สรางเครื่องมือและการประเมินผลสําหรับการ พัฒนาศัพยภาพ และการพัฒนาคุณสมบัติของผูทําหนาที่ในการไกลเกลี่ยขอพิพาท เพื่อเปนการ ยกระดับและการพัฒนาความสามารถของผูดํารงตนที่ปฏิบัติหนาที่ในการเปนผูไกลเกลี่ยขอพิพาท

abstract:

ABSTRACT Title : Factors Affecting Mediator in Mediation of Dispute Field : Social - Psychology Name : Mrs.Nathaporn Jalayananavin Course NDC Class 59 The objectives of this research were as follows: (1) to study the process of recruiting and developing for conciliator, as well as the ecumenism of conciliator under Thai law (2) to study the impediments for conciliator in dispute resolution. (3) to analyze the factors affecting mediator in conciliation (4) to find measures and guidelines for self-improvement and the ecumenism of conciliators. Research method of this paper was qualitative research methodology which data collection has been obtained from conciliators’ interview. The study indicated that 1) the process of recruiting and developing for conciliator according to Thai law has been defined as the standard recruitment process. This included recruitment, qualifying, testing and interviewing. Additionally, it also provided training in both ethics and the requirements for being a leader in mediation. 2) The impediments for conciliator in dispute resolution were including 2.1) lacking of knowledge and understanding of disputes 2.2) confusing and misunderstanding of the role of conciliator 2.3) lacking of cooperation and attention from a conflicting parties. 2.4) conflicting of interests between mediators and conflicting parties. 2.5) Obstacle of legal process which affected dispute resolution 3) The factors affecting mediator in conciliation were including standards for the professional practice which was the most important for conciliators. Moreover; the experience and expertise of conciliators, who have more experience and skillful they will be specialist in dispute resolution as well. 4) Improvement of knowledge and understanding of disputes, providing the training to increase understanding level of the role and other potential are the basic element of measures and guidelines for self-improvement and the ecumenism of conciliator. Moreover; emphasis that Dispute Resolution Process by conciliators was the process generated for negotiation among conflicting parties by involving conflicting parties to make the most satisfactory outcome to their position. It was recommended that (1) providing accurate understanding of compromise and mediation in order to reduce the case and negotiate among conflicting parties. (2) Improving or revising the laws that hinder mediation process. (3) Creating the regulations, laws, and some mechanisms which can support and improve the mediation process of disput