เรื่อง: ปัจจัยที่ส่งผลต่อการสืบพยานผ่านจอภาพในการพิจารณาคดีเกี่ยวกับความมั่นคง
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ฐานิต ศิริจันทร์สว่าง
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง ปจจัยที่สงผลตอการสืบพยานผานจอภาพในการพิจารณาคดีเกี่ยวกับความมั่นคง
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย นายฐานิต ศิริจันทรสวาง หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙
ปจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงมากมายทั้งในระดับโลก ภูมิภาค และภายในประเทศที่มี
ผลกระทบตอความมั่นคงของประเทศ เชน ปญหาอาชญากรรมขามชาติ การกอการราย ความขัดแยงของ
คนในชาติและภัยธรรมชาติ เปนตน ซึ่งปจจัยเหลานี้ก็มีผลกระทบตอกระบวนการพิจารณาคดีของศาล
ยุติธรรมดวย ทั้งในดานที่มีคดีขึ้นสูศาลจํานวนมากขึ้น คดีมีความซับซอนมากขึ้น บางคดีมีความออนไหว
กระทบตอจิตใจและความสงบในสังคม และในบางครั้งพยานไมอยากมาเบิกความตอศาลเนื่องจากเกรงวา
จะไดรับอันตราย หรือพยานไมสามารถมาเบิกความตอศาลไดเนื่องจากเหตุความไมสงบหรือภัยธรรมชาติ
ดังกลาว ทําใหตองมีการตราหรือปรับปรุงแกไขกฎหมายทั้งสารบัญญัติและวิธีสบัญญัติใหเหมาะสมเพื่อ
สอดคลองกับสถานการณในปจจุบันและรองรับความเจริญกาวหนาที่เกิดขึ้นในอนาคต โดยที่กฎหมาย
เกี่ยวกับการพิจารณาคดีผานจอภาพถือเปนแนวทางหนึ่งที่ถูกนํามาใชเพื่อใหการพิจารณาเปนไป
โดยสะดวก รวดเร็ว แตอยางไรก็ตามการนําระบบการพิจารณาคดีผานจอภาพมาใชยังไมอาจเกิดผลอยาง
เต็มประสิทธิภาพ รายงานวิจัยฉบับนี้จึงไดวิเคราะหถึงสภาพปญหาดังกลาวอันเกิดจากบทบัญญัติของ
กฎหมายที่ยังไมครอบคลุม การขาดความรูความเขาใจของบุคลากรที่เกี่ยวของ คูความ และประชาชน
ปญหาทางดานทรัพยากร เทคนิค อุปกรณที่ไมทันสมัยและไมเพียงพอ ผูวิจัยจึงไดนําเสนอแนวทางในการ
พัฒนาและแกปญหา อันไดแก การแกไขกฎหมาย การประชาสัมพันธใหความรูแกคูความและประชาชน
การอบรมใหความรูแกบุคลากรที่เกี่ยวของทั้งในศาลยุติธรรมและหนวยงานที่เกี่ยวของ รวมถึงการจัด
ประชุมและสัมมนาเพื่อแกปญหาและขอขัดของ ซึ่งการพัฒนาระบบการพิจารณาคดีผานจอภาพจะเปน
ปจจัยที่สําคัญประการหนึ่งอันจะชวยสนับสนุนบทบาทหลักของศาลยุติธรรมในการอํานวยความยุติธรรม
เพื่อใหสอดคลองกับวัตถุประสงคหลักในการอํานวยความยุติธรรม คือ สะดวก รวดเร็ว ประหยัด และเปน
ธรรม อันสงผลโดยตรงตอความสงบเรียบรอยในสังคมและความมั่นคงของประเทศชาติตอไป
abstract:
ABSTRACT
Title Factors which may affect witness testimony given via
teleconferencing in national security cases
Field Social-Psychology
Name Mr.Tanit Sirijansawang Course NDC Class 59
As the world is constantly evolving, therefore the society have changed on a
global level and across world regions. One of the possible effect from transnational
crimes, terrorism, conflict of the people in the nation and may be natural disasters.
Inevitably, these factors could effect the judicial process both directly and indirectly in
the sense that it could raise the number of cases coming to court, or the nature of the
case itself could become more complicated and moreover, in some case which contains
sensitive matters, it could affect people mentality or at worst, the society as a whole
including the peacefulness in the social order in the wider picture. Hence, It should
therefore come as no surprise that, in certain case, the witness would not want to testify
to the court due to the intimidation from the violent nature of the case or afraid of a
serious harm that could occur to them. While in some case coming to testify at the
court is not practical option because of insurgency or natural disaster. Therefore, it is
necessary that there be a issuance or amendment of the law both Substantive and
Procedural Law. The laws concerning the court proceeding via Video Conferencing is one
of the method which have been widely use to provide the witness with more
convenience method to give their testimony to the court promptly. However, the Video
Conferencing in court proceeding has not been utilized at its full capacity. Hence, this
research aim to analyst the problem in the use of Video conferencing in court
proceeding which may arise from the various reason such as, the available laws are not
fully cover in this particular area, the lack of knowledge in all relevant parties, i.e., the
parties of conflict, officers, and general public, technical problem, lack of resources,
outdated equipment or not enough number of equipments. Moreover the researcher
would like to propose the possible guideline for development including the amendment
of laws, provide more knowledge to people, and training to all relevant officers both in
courts and other agencies by set up a meeting and/or seminar in order to resolve the
problems or any inconvenience issues that they are expriencing. This development in
Video Conference in court proceeding will become one of the important/necessary
factor which will support and improving the Court of Justice role in accommodating and
delivering justice for people which reflect the Court of justice vision which is “Rendering
judgment promptly, economically and justifiably”. That unquestionably will send the
positive impact on social order and national security in the coming future.