เรื่อง: แนวทางการสำรองไฟฟ้าเพื่อใช้ยามขาดแคลน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการศึกษา/Education
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลอากาศตรี เชี่ยวชาญ รุดดิษฐ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง แนวทางการสํารองไฟฟ้ าเพื
อใช้ยามขาดแคลน
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผ้วิจัย พล.อ.ต.เชี
ยวชาญ ร ู ุดดิษฐ์ หลักสูตร วปอ. ร่นที
๕๙ ุ
งานวิจัยเชิงสังเคราะห์แนวทางการสํารองไฟฟ้ า มีวัตถุประสงค์เพื"อใช้ยามขาด
แคลนของประเทศไทย โดยการศึกษาการกกเกั ็บพลังงานด้วยแบตเตอรี"ชนิดต่างๆ รวมทั/งวิเคราะห์
ข้อดีและข้อเสีย ประสิทธิภาพ โดยการศึกษาความสอดคล้อง และความเหมาะสมของนโยบายด้าน
พลังงาน ที"เกี"
ยวกบเทคโนโลยี และระบบการก ั กเกั ็บพลังงานให้มีประสิทธิภาพ และให้สอดคล้อง
ในแต่ละพื/นที"ใช้งานของประเทศที"มีความแตกต่าง จากการศึกษา พบว่าการสํารองพลังงานด้วย
แบตเตอรี"ชนิดต่างๆ นั/นมีความสําคัญในการนํามาใช้ในการกกเกั ็บพลังงาน เพื"อให้ประเทศมีความ
มันคงทางด้านพลังงานในยามที"ประเทศเก " ิดสงคราม หรือภัยพิบัติ สามารถนําระบบกกเกั ็บพลังงาน
ชนิดนี/มาใช้ได้ นอกจากนี/เทคโนโลยี และระบบการกักเก็บพลังงานยังมีความสอดคล้องกับ
นโยบายด้านพลังงาน ที"ต้องการให้มีการศึกษาระบบกกเก ั ็บพลังงาน สําหรับเป็ นแหล่งพลังงาน
สํารองของประเทศ โดยจากการศึกษาแบตเตอรี"ทั/ง ๗ ชนิดซึ" งได้แก่ แบตเตอรี"แบบตะกวกรด ั"
แบตเตอรี"แบบนิกเกิลแคดเมี"ยม แบตเตอรี"ลิเที"ยมไอออน แบตเตอรี"โซเดียมซัลเฟอร์ แบตเตอรี"ซิงค์
โบรไมด์ แบตเตอรี"โพลีซัลไฟด์ โบไมด์ แบตเตอรี"แวนเนเดียม รีด๊อก การนํามาประยุกต์ใช้งานใน
การกกเกั ็บพลังงานไฟฟ้ าด้วยแบตเตอรี"ที"สามารถนําไปใช้ได้จริง สําหรับพื/นที"ที"มีการใช้พลังงาน
ไฟฟ้ าขนาดขั/นตํ"า ๑ เมกะวัตต์ พบวา มีแบตเตอรี"ถึง ๕ ชนิดที"เข้าเกณฑ์ในกระนํามาใช้งานได ่ ้ ซึ" ง
คือ แบตเตอรี"แบบนิกเกิลแคดเมี"ยม แบตเตอรี"ลิเที"ยมไอออน แบตเตอรี"โซเดียมซัลเฟอร์ แบตเตอรี"
โพลีซัลไฟด์ โบไมด์ แบตเตอรี"แวนเนเดียม รีด๊อก ทั/งนี/หากต้องการนําแบตเตอรี"ทั/ง ๕ ชนิดนี/ไปใช้
ในการกกเกั ็บพลังงานที"ต้องคํานึงถึง สภาวะแวดล้อมของพื/นที" อุณหภูมิ ความชื/น ขนาดนํ/าหนัก
และความปลอดภัยของการใช้แบตเตอรี" ในแต่ละพื/นที" นอกจากนี/ควรมีนโยบายในการวางกาลังพล ํ
เพื"อการพัฒนาระบบกกเกั ็บพลังงาน และควรมีการศึกษา โดยการจําลองแบตเตอรี"ที"ใช้ในการพกพา
ขนาดเล็กขึ/น เพื"อให้ได้ต้นแบบแบตเตอรี"ในการกกเกั ็บพลังงาน เพื"อให้ง่ายในการขยายสเกลในการ
ขนาดใหญ่ต่อไป
abstract:
ABSTRACT
Title The Electrical Storage Backup plan for the lack of time.
Field Science and technology.
Name AVM.Chiewchan Ruddit Course NDC Class 59
This synthetic research focuses on storage electricity for Thailand using the battery.
The purpose is to storage electricity for use in Thailand's backup plan by studying the different
types of battery. Include an analysis of the advantages and disadvantages of battery performance
and the appropriateness of energy policy that relate to energy storage systems technology and
consistent in each of the different areas of Thailand. The study was found that the different type
of batteries to store energy is important which used the energy security of Thailand with a case of
War or other Catastrophes. In addition, energy storage technology is also consistent with the
energy policy that requires studying the energy storage system as a source of national energy
reserves. Seven types of the battery were studied; these include Lead acid, Nickel-Cadmium,
Lithium ion, Sodium-Sulfur, Zinc-Bromide, Polysulfide-Bromide, and Vanadium Redox. Thus
the batteries could apply for electrical storage using in the areas with a minimum power
consumption of one MW. It was further found that the Nickel-Cadmium, Lithium ion, SodiumSulfur, Polysulfide-Bromide, and Vanadium Redox was appropriated to support the area with a
power consumption of one MW. However, the five types of battery used for energy storage with
other factors should depend on the environment, temperature, humidity, size, weight, and safety
by using the battery in the area. In addition, there should be a policy to deploy troops for the
development of energy storage systems and should be simulated the smaller size of carrying on
the battery to get a prototype of battery to simplify the scaling of the next large scale.