Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ข้อกฎหมายและข้อเท็จจริงในการต่อสู้คดีปราสาทพระวิหารเมื่อปี 2505 (ค.ศ.1962) และปี 2556 (ค.ศ.2013)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย เชิดชู รักตะบุตร
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง ขอกฎหมายและขอเท็จจริงในการตอสูคดีปราสาทพระวิหาร เมื่อป๒๕๐๕ (ค.ศ. ๑๙๖๒) และ ๒๕๕๖ (ค.ศ. ๒๐๑๓) ลักษณะวิชา การเมือง ผูวิจัย นายเชิดชู รักตะบุตร หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙ ประเด็นแหงคดีของคดีปราสาทพระวิหารระหวางไทยกับกัมพูชาอยูที่อธิปไตยเหนือ ปราสาท มูลเหตุสําคัญแหงคดีปราสาทพระวิหารเกิดจากแผนที่ที่เปนผลงานของคณะกรรมการผสม สยาม-ฝรั่งเศส ซึ่งมีหนาที่ปกปนเขตแดนนั้นมีความแตกตางจากขอเท็จจริงที่เปนอยูในภูมิประเทศ จึงเปนสาเหตุของการแสดงเครื่องหมายปราสาทพระวิหารไวทางทิศใตของเสนเขตแดนที่ปรากฎใน แผนที่ซึ่งเปนฝงกัมพูชาของเสนในแผนที่ ทั้งๆ ที่ตามความเปนจริงของภูมิประเทศ กับตามขอบทของ สนธิสัญญาแลว ปราสาทตั้งอยูทางทิศเหนือของสันปนน้ําซึ่งอยูในฝงไทย ซึ่งเปนดังนั้นทั้งตาม ขอเท็จจริงในสภาพทางภูมิศาสตรของภูมิประเทศและตามขอบทของสนธิสัญญา แตจากความเปนมา ในประวัติศาสตร การทํางานของคณะกรรมการผสมสยาม-ฝรั่งเศส ผูทําหนาที่ปกปนเขตแดน สิ้นสุด ลงกอนที่จะทําแผนที่สําเร็จ คณะกรรมการผสมฯ ไมเคยตรวจสอบความถูกตองและไมเคยรับรองแผน ที่นั้น อยางไรก็ตาม ประเทศภาคีสนธิสัญญาไดรับใชงานและไดรับประโยชนจากแผนที่ฉบับนี้มาเปน เวลานานทั้งในแงความมีเสถียรภาพและความเปนที่สุดของเสนเขตแดน เมื่อมีขอพิพาทเกี่ยวกับการ ครอบครองพื้นที่เกิดขึ้น และไดมีการนําคดีขึ้นสูศาลจึงเกิดเปนประเด็นขอกฎหมายวาความเปน สามเสาระหวางสนธิสัญญา กับแผนที่ และสภาพภูมิประเทศจริง นั้น สิ่งใดเปนเครื่องชี้อธิปไตยเหนือ ปราสาทพระวิหาร ประเด็นแหงคดีไดทวีความซับซอนยิ่งขึ้น เมื่อกัมพูชาตองการขยายขอพิพาทจาก ประเด็นอธิปไตยเหนือปราสาทเปนประเด็นดานเสนเขตแดน และขอใหศาลพิพากษาวาเสนในแผนที่ เปนเสนเขตแดนระหวางไทยกัมกัมพูชาไปดวย ซึ่งการขยายประเด็นแหงคดีนั้น มีผลใหเกิดการขยาย พื้นที่พิพาทจากปราสาทหรือบริเวณปราสาทพระวิหารเปนเขาพระวิหารและพนมตรับหรือภูมะเขือ ขอพิพาทที่ซับซอนในป๒๕๐๕ (ค.ศ. ๑๙๖๒) ไดถูกหยิบยกขึ้นขอใหศาลยุติธรรมระหวางประเทศ ตีความอีกครั้งในป๒๕๕๔ (ค.ศ. ๒๐๑๑) ในคดีแรกทั้งสองฝายตอสูดวยเหตุผลทางกฎหมายและหลักฐานทางภูมิศาสตร ประวัติศาสตร และวัฒนธรรมอยางกวางขวาง แตศาลไดวินิจฉัยโดยอาศัยหลักกฎหมายวาดวยการ ปฏิบัติตอมา (Acquiescense) กับหลักกฎหมายปดปาก (Estoppel) ไมใหไทยยกขึ้นตอสูวา ไทยไม รับรองแผนที่ เปนผลใหศาลวินิจฉัยวาปราสาทพระวิหารตั้งอยูในดินแดนภายใตอธิปไตยกัมพูชา แตในเวลาเดียวกัน ศาลก็วินิจฉัยวาประเด็นขอพิพาทในคดีนี้มีเรื่องเดียวคือเรื่องอธิปไตยเหนือดินแดน ซึ่งไมใชเรื่องเสนเขตแดน ดังนั้น แมศาลจะพิจารณาเรื่องสถานะของแผนที่และเสนในแผนที่ซึ่งเปน คุณแกกัมพูชาในประเด็นอธิปไตยก็ตาม แตศาลก็วินิจฉัยในฐานะที่เปนเหตุผลในการพิพากษา แตไมข พิพากษาใหในฐานะที่เปนคําบังคับที่กัมพูชาจะอาศัยมาตีความเพื่ออางสิทธิในพื้นที่อื่นๆ นอกเหนือจากบริเวณปราสาท ความขอนี้ไดรับการยืนยันอีกครั้งในคําพิพากษาตีความเมื่อป๒๕๕๖ (ค.ศ. ๒๐๑๓) คําพิพากษาตีความไดใหความกระจางแกคูความมากขึ้นวา พื้นที่บริเวณปราสาทที่ไทย ตองถอนทหารนั้น คือยอดเขาพระวิหาร ซึ่งมีลักษณะภูมิประเทศเดนชัดทุกดาน สวนทางทิศเหนือ ศาลตีความวาคือเสนในแผนที่ภาคผนวก ๑ ดังนั้น ในเมื่อแผนที่ภาคผนวก ๑ ถูกสรางขึ้นโดยผิดจาก ความเปนจริง คําพิพากษาทั้งสองครั้งจึงยังไมสามารถเฉลยขอพิพาทระหวางสองประเทศไดทั้งหมด ซึ่งจะยังเปนหนาที่ของคูความทั้งสองที่จะตองใชวิธีเจรจากันตอไป

abstract:

ABSTRACT Title Fact and Legal Issues in the Case concerning the Temple of Phra Viharn (Preah Vihear) Field Politics Name Mr.Chirdchu Raktabutr Course NDC Class 59 The subject matter of the Case Concerning the Temple of Preah Vihear (Cambodia v. Thailand) is the sovereignty over the Temple. The origin of the dispute between the two countries was that the geographical features on the map and the actual terrain in the disputed area are not similar. The map, which was later called Annex 1 Map, was the result of work done by the Franco-Siamese Mix Delimitation Commission tasked by the Franco-Siamese Treaty of 1904. The fact that the Mixed Commission had ceased its function before the completion of the production of the map showed that the map was never verified or approved by the Mixed Commission. However, subsequence practices showed that both Siam and France had used the map and had benefited from the map especially by its stability and finality character of the boundary settlement. However, the differences between geographical facts on the ground and those shown on the Annex 1 Map and the text of the treaty between France and Siam of 1904 brought about significant discrepancy of interpretation between Thailand and Cambodia. The matter became more complicated when the subject matter was extended from the sovereignty over the Temple to cover Phnom Trab or Phu Makua. The case which had been decided by the ICJ 1962 was raised to the Court again in 2011 to seek the clarification on the word “vicinity of Temple”. In 1962, both parties used extensive legal, geographical, cultural and historical arguments in their pleadings and responses. However, the ICJ applied the rule of acquiescence and the rule of estoppel hampering Thailand from claiming that it had never accepted the map or being bound by it. On the other hand, although the Court considered in favour of the map which was for the benefit of Cambodia but the Court did not considered it as an operational clause which means that the judgment did not support any other claims beside that which was the one and only subject of the dispute in the case. This issue was brought to the ICJ again in 2011 to seek clarification of the vicinity of the Temple or the Temple area which Cambodia claimed that it covers areas beyond the Temple to reach that of Phu Makua or Phnom Trab on the Annex 1 Map. In 2013, the Court gave further clarification of the2 word vicinity of the Temple or Temple area that it covers the whole promontory of the Temple of Phra Viharn (Preah Vihear). The Court explained that there were clear geographical feature on all side except to the North which the Court said that it was the Annex 1 map line. Because this Annex 1 map line was drawn on data which is different from geographical facts on the terrain, both judgments are unable to answer the question raised to the Court. It is, then, the responsibility of Thailand and Cambodia to find the solution between them through negotiation.