เรื่อง: แนวทางในการพัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมก่อสร้างสำหรับการผลิตปิโตรเลียมนอกชายฝั่งในประเทศไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ชาญวุฒิ นิติกิจไพบูลย์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรือง แนวทางในการพัฒนาและส่งเสริมอุตสาหกรรมก่อสร้างสําหรับการผลิต
ปิ โตรเลียมนอกชายฝั#งในประเทศไทย
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผ้วิจัย ู นาย ชาญวุฒิ นิติกิจไพบูลย์ หลักสูตร วปอ. ร่นที ุ ๕๙
เอกสารวิจัยนี/จัดทําขึ/นโดยมีวัตถุประสงค์เพื#อศึกษาอุตสาหกรรมก่อสร้างสําหรับการ
ผลิตปิ โตรเลียมนอกชายฝั#งในประเทศไทย โดยเป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื#อให้เข้าใจถึงศักยภาพ
ข้อจํากด อุปสรรค ของอุตสาหกรรมนี ั /ในประเทศไทย ศึกษานโยบายสนับสนุนอุตสาหกรรมนี/ของ
ประเทศในภูมิภาค ศึกษาเปรียบเทียบการพัฒนาอุตสาหกรรมดังกล่าวในเกาหลี สิงคโปร์ จีน ที#เป็ น
ประเทศผู้ผลิตรายใหญ่ของโลก และศึกษานโยบายการจัดซื/อจัดจ้างเชิงพัฒนาอุตสาหกรรมใน
ประเทศมาเลเซีย เพื#อใช้เป็ นแนวทางในการกาหนดข้อเสนอแนะเชิงนโยบายของประเทศไทย ํ
จากการศึกษาพบวาประเทศไทยไม ่ ่มีนโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมนี/อยางชัดเจน ่
ในขณะที#ประเทศอื#นๆในภูมิภาคที#มีการพัฒนาแหล่งปิ โตรเลียมล้วนมีการจํากดให้ใช้ ั
ผู้ประกอบการในประเทศของตนทั/งสิ/น และเมื#อเปรียบเทียบการพัฒนาในประเทศที#มีผู้ผลิตราย
ใหญ่ของโลกพบวาความสําเร็จของอุตสาหกรรมนี ่ /มีปัจจัยร่วมคือการสนับสนุนจากรัฐบาลที#
ครอบคลุมในหลายมิติอยางต ่ ่อเนื#องในระยะยาว
แม้วาผู้ประกอบการหลักของไทยที#อยู ่ ในอุตสาหกรรมนี ่ /มีน้อยรายแต่ก็มีศักยภาพและ
กาลังการผลิตเก ํ ินความต้องการสําหรับการผลิตปิ โตรเลียมในประเทศทําให้มีการส่งออกไป
ต่างประเทศได้ เป็ นอุตสาหกรรมที#ช่วยให้ความมันคงทางพลังงานและช # ่วยเสริมสร้างการเติบโต
ของประเทศด้วยมูลค่าทางเศรษฐกิจหลายหมื#นล้านบาทในแต่ละปี มีการจ้างงานกวาสองหมื#นคน ่
และช่วยเสริมสร้างธุรกิจอื#นที#เกี#ยวข้องในห่วงโซ่อุปทาน ข้อเสนอแนะในการพัฒนาประกอบด้วย
๑) การนํารูปแบบของโปรแกรมความร่วมมือภาคอุตสาหกรรมของประเทศมาเลเซีย ที#พิจารณาถึง
การกาหนดมูลค ํ ่าภายในประเทศ การลงทุน การถ่ายทอดเทคโนโลยี และพัฒนาองค์ความรู้ มาปรับ
ใช้กบการจัดซื ั /อของภาครัฐและโครงการที#ได้รับสัมปทานจากรัฐ ๒) การกาหนดให้มีคลัสเตอร์ของ ํ
อุตสาหกรรมนี/และมีการกาหนดเป้ าหมายรูปแบบในการพัฒนาอย ํ างชัดเจน ๓) การส ่ ่งเสริมการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ๔) การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๕) การสนันสนุนด้าน
แหล่งเงินทุน แรงจูงใจทางภาษี รวมทั/งปรับปรุงภาษีและอากรนําเข้าเครื#องจักรและวัตถุดิบให้
สอดคล้องกบภาวะการแข ั ่งขันในตลาดโลก
abstract:
ABSTRACT
Title Development Approach for Offshore Construction Industry in Thailand
Field Economics
Name Mr. Chanwut Nitikitpaiboon Course NDC Class 59
The purpose of this reseach is to come up with policy recommendation for further
development of petroleum offshore construction industry in Thailand by qualitatively assessing
the current capability of the industry and identifying impediments for its progress; surveying
relevant measures and policies in regional markets; studying industry collaboration program as
applied to other industries in Malaysia; and reviewing the development path of Korea, Singapore,
and China which have strong industry position in the world market.
Thai offshore construction industry for petroleum production help increase national
energy security and help contribute to Thailand economy by creating market value of several
billions baht a year, expanding labor market, and supporting other businesses within its value
chain. Thai offshore fabricators have well developed their capabilities, skills and technologies to
build small to medium scale offshore facilities with capacity far exceeds the domestic demand. As
such, they have reached out for international market for offshore oil and gas production facilities
as well as other modularization works with some success. More progress is impeded by current
market environment and the lack of supporting policy while many regional and international
markets are limited with prevalent local content policies.
Yet the author believes Thai offshore construction industry has already built up a
good foundation and is poised to become a player in the global market for larger and more
complicated products if provided with support through i) adoption of policy similar to Malaysia’s
Industrial Collaboration Programme to promote local content, foreign direct investment, and
technology transfer with government-funded and government-concessioned projects, ii) targeting
the industry as a national industry cluster with specific development plan, iii) development of
human capital, iv) investment in technology, research & development, and v) increase
accessibility of fund, provide tax incentives, as well as more competitive import duty for
machinaries, raw materials, and others.