Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการใช้นักบินหญิงกองทัพอากาศเพื่อปฏิบัติการบินสนับสนุนภารกิจด้านความมั่นคง

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลอากาศตรี ชากร ตะวันแจ้ง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการใช้นักบินหญิงกองทัพอากาศเพ ื่อสนับสนุนภารกิจด้านความมั่นคง ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วจิยั พล.อ.ต.ชากร ตะวันแจ้ง หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 59 การศึกษาเรื่ อง แนวทางการใช้นักบินหญิงกองทัพอากาศเพื่อสนับสนุนภารกิจ ดา้นความมนั่ คง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้ประโยชน์ อุปสรรค และข้อจ ากัด ตลอดจนเสนอ แนวทางการใช้นักบินหญิงกองทัพอากาศในการสนับสนุนภารกิจด้านความมนั่ คง โดยผู้วิจัย ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็ นแนวทางหลักในการศึกษาและเก็บรวบรวม ข้อมูลจาก ระเบียบ ข้อบังคับ เอกสารราชการ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวมถึงการสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้ทรงคุณวุฒิในกองทัพอากาศที่มีความเชี่ยวชาญ และฝ่ ายเสนาธิการที่มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ การก ากับดูแลปฏิบัติการด้านการใช้ก าลังทางอากาศเพื่อป้ องกันราชอาณาจักรแล้วน ามาสังเคราะห์ ด้วยเหตุและผล ผลการวิจัยพบว่า การใช้นักบินหญิงเพื่อปฏิบัติการบินด้วยอากาศยานแบบเครื่องบินรบน้ัน ยังไม่มีความเหมาะสม ฉะน้ัน จึงไม่ควรใช้นักบินหญิงในภารกิจเฉพาะฝูงบินขับไล่เอนกประสงค์ และโจมตีท้ังน้ีปัจจุบันกองทัพอากาศมีการใช้ประโยชน์นักบินหญิงในภารกิจการล าเลียง ทางอากาศ ภารกิจการลาดตระเวนทางอากาศ ภารกิจช่วยเหลือกู้ภัย โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชด าริและนโยบายการพัฒนาประเทศ ภารกิจเฉพาะพิเศษ ภารกิจการเสริมสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีของกองทัพอากาศ และในอนาคตนักบินหญิงควรพัฒนาขีดความสามารถของนักบินหญิง ให้ขยายครอบคลุมภารกิจการเสริมสร้างความสัมพันธ์กับมิตรประเทศ และภารกิจครูการบิน อย่างไรก็ตาม นักบินหญิงขาดคุณสมบัติในการปฏิบัติทางอากาศด้วยอากาศยานแบบเครื่องบินรบ จึง ไม่ควรใช้นักบินหญิงในภารกิจเฉพาะฝูงบินขับไล่เอนกประสงค์นอกจากน้ีการใช้นักบินหญิงใน ภารกิจต่าง ๆ พบว่ามีอุปสรรค และข้อจ ากัด 4 ดา้น ดงัน้ีด้านกฎหมาย ด้านระบบการฝึ กนักบินขับไล่ ทางยุทธวิธี ด้านสมรรถภาพทางกาย และด้านวัฒนธรรมองค์กร สุดทา้ยน้ีผู้วิจัยได้น าเสนอแนว ทางการใช้นักบินหญิงกองทัพอากาศเพื่อสนับสนุนภารกิจด้านความมั่นคง ซึ่ งแบ่งเป็ น 2 กลุ่มภารกิจคือ กลุ่มภารกิจปฏิบัติการทางการบิน (Aviation Operations) ได้แก่ ภารกิจเฉพาะฝูงบิน ล า เ ลี ย ง ท า ง อ า ก า ศ ภ า ร กิ จ เ ฉ พ า ะ ก า ร ล า ด ต ร ะ เ ว น ท า ง อ า ก า ศ (Air Reconnaissance) ภารกิจปฏิบัติการบินสนับสนุนการช่วยเหลือและกู้ภัย ภารกิจปฏิบัติการบินสนับสนุนโครงการ อันเนื่องมาจากพระราชด าริและนโยบายการพัฒนาประเทศ และภารกิจการปฏิบัติหน้าที่ครูการบิน และกลุ่มภารกิจที่มิใช่ปฏิบัติการทางอากาศ ได้แก่ กิจเฉพาะพิเศษ ภารกิจด้านเสนาธิการกิจ ภารกิจการเสริ มสร้างความสัมพันธ์กับมิตรประเทศ และภารกิจการเสริ มสร้างภาพลักษณ์ที่ดี ของกองทัพอากาศ

abstract:

ABSTRACT Title Guidelines of Using RTAF Female Pilots in Support Security Missions Field Military Name AVM. Chakorn Tawanjang Course NDC Class 59 The purposes of this research are studying the uses, problems and limitations of RTAF female pilots and to recommend guidelines of using them in support security missions.This qualitative research studies on data analyzing of regulations, documents and related researches including in-dept interviews using structural interview patterns from RTAF specialists and staff officer who responsible for controlling Air Power Defenses missions. Then, synthesize those datas to accomplish the best guidelines of using RTAF female pilots in support security missions. The research results show that RTAF has recruited female pilots to perform an air lifting missions, air reconnaissance and special operations to support both Military tasks and civil affair for example, the foreign affairs operation in Humanitarian assistance, peacekeeping, air lifting, the royal rain making, extinguish wildfire, dissipating smog etc. The results also show that the problems and the limitations can be sorted into 4 aspects which are 1.Legal terms 2.The fighter pilot training system 3.Physical performances 4.Organization culture. Thus, we should not assign the female pilots especially in fighter squadron. By recommending female pilots to support security missions that can be divided into 2 groups of mission. First is non-fighter aircraft operations which are Air lift squadron, Air reconnaissance, Search and rescue, support The Royal projects and national development policy and Instructor pilots. The other is non air operation missions which include supporting special tasks, air staff missions, foreign affairs and strengthen RTAF image.