เรื่อง: ยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางทะเลของไทย รองรับการขยายอิทธิพลทางทะเลของจีนในทะเลจีนใต้และมหาสมุทรอินเดีย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือโท ช่อฉัตร กระเทศ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง ยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางทะเลของไทยรองรับการขยายอิทธิพลทางทะเล
ของจีนในทะเลจีนใต้และมหาสมุทรอินเดีย
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย พลเรือโท ช่อฉัตร กระเทศ ร.น. หลักสูตร วปอ. รุ่นที่59
การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมุททานุภาพ ยุทธศาสตร์แผนความมั่นคง นโยบาย
และ แนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการขยาย อิทธิ พลทางทะเลของจีนในทะเลจีนใต้และมหาสมุทรอินเดี ย เพื่อน ามาสู่
การวิเคราะห์ปัญหามั่นคงในทะเลจีนใต้และมหาสมุทรอินเดีย ตลอดจนสภาวะแวดล้อมความมั่นคงทางทะเล
ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ต้ังแต่อดีต ปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต รวมท้ังผลกระทบที่มีต่อประเทศไทยและ
กองทัพเรื อ เพื่อกา หนดยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางทะเลของไทย รองรับการขยายอิทธิ พลทางทะเลของจีนใน
ทะเลจีนใต้และมหาสมุทรอินเดี ย โดยน าแนวคิดไปเสริมยุทธศาสตร์ชาติ20 ปีแผนความมั่นคงแห่งชาติทาง
ทะเล พ.ศ. 2558-2564 หรือ แผนความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล พ.ศ. ..... อีกท้ังให้ได้มาซ่ึง ข้อคิดเห็นและ
ข้อเสนอแนะในระดับนโยบาย ระดับผู้ปฏิบตัิตลอดจนเพื่อการวิจยัคร้ังต่อไป
ผลการวิ จัยพ บว่า ปัญหาความมั่นคงในทะเลจีนใต้และมหาสมุทรอินเดียน้ัน จีนยังคงอ้าง
กรรมสิทธ์ิในทะเลจีนใต้โดยอ้างอิงประวัติศาสตร์และต้องการปกป้องและรักษาผลประโยชน์เหนือพ้ืนที่น้ีซ่ึง
มีทรัพยากรจา นวนมาก อีกท้ังต้องการคุ้มครองเส้นทางการล าเลียงน้ ามันในมหาสมุทรอินเดียให้มีความมั่นคง
และยั่งยืนเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่ก าลังเจริญอย่างมาก ซ่ึงส่งผลกระทบต่อประเทศมหาอ านาจอื่น เช่น
สหรัฐฯ และอินเดีย ซ่ึงต่างก็มีอิทธิพลและผลประโยชน์อยู่ในพ้ืนที่ท้ังสองมาช้านานเช่นกัน ท้ังน้ีหาก จี น
สหรัฐฯ และอินเดีย ซ่ึงต่างเป็นพันธมิตรที่ดีกับประเทศไทย เกิดการกระทบกระทั่งกันเพื่อแย่งชิงและปกป้อง
ผลประโยชน์ของตนเหนือพ้ืนที่ดังกล่าว จะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยที่ใช้พ้ืนที่ท้ังสองในการขนส่ง
ทรัพยากรของชาติ จึงจ าเป็ น ต้องมี ยุทธศาสตร์ ที่ เหมาะสมร องรับ นอกจากน้ีผลการวิจัยยังพบว่า แผนความ
มั่นคงแห่งชาติทางทะเล (พ.ศ.2558 - 2564) ที่มี 6 ยุทธศาสตร์เป็นยุทธศาสตร์เชิงรับ ท้ังน้ีจากผลการวิจัยซ่ึง
เป็นไปตามหลักวิชา ได้มาซ่ึง 5 ยุทธศาสตร์ใหม่ โดยเป็นยุทธศาสตร์เชิงรุก ท้ังน้ียุทธศาสตร์ความมั่นคงทาง
ทะเลรองรับการขยายอิทธิพลของจีนในทะเลจีนใต้และมหาสมุทรอินเดียที่ได้จากการวิจัยคร้ังน้ีจึงมีท้ัง
ยุทธศาสตร์ เชิ งรุ กและเชิ งรับรวม 11 ยุทธศาสตร์ (6 ยุทธศาสตร์ เชิ งรับ + 5 ยุทธศาสตร์เชิงรุก) อีกท้ังเอกสาร
วิจัยฉบับน้ีมีท้ังข้อเสนอแนะท้ังเรื่องที่เป็นข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ข้อเสนอแนะระดับปฏิบัติการ และ
ข้อเสนอแนะในการวิจยัต่อไปด้วย ซ่ึงนับได้ว่า เอกสารวิจยัฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศเป็นอย่างยิ่ง
abstract:
Abstract
Title The Maritime Security Strategy of Thailand to Support the Maritime
Influence Expansion of China in South China Sea and Indian Ocean
Field Strategy
Name Vice Admiral Chorchat Gra-tes RTN Course NDC Class 59
This research is aimed to study the sea power, strategy, security plan, policy and the
ideas about influence expansion in South China Sea and Indian Ocean to analyze the problems of
security in South China Sea and Indian Ocean and also the security in Asia Pacific in the past, at
present, and in the future. The effects on Royal Thai Navy and the Kingdom of Thailand are brought
up to analyze to specify the strategy of maritime security of Thailand to support the influence
expansion in South China Sea and Indian Ocean by China. The concepts of the study were brought to
support 20-Year National Strategy, and National Maritime Security Plan 2015-2021, or National
Maritime Security Plan …, and also to gain opinions and suggestions in policy level and operator
level.
The study revealed that China still claimed their ownership over South China Sea by
referring to the history. It wanted to protect their interests in the areas consisting of plenty of
resources. It also wanted to protect the routes of petrol transport in Indian Ocean to enhance its
economic status which was greatly growing up. This affected some great powers such as India and the
United States as they have had influences and interests over the areas for long time as well. Thailand
can be affected if China, the United States, and India have conflicts with one another as they have
well relations to Thailand, and we use the both areas for resource transport. Therefore, there should be
appropriate strategy for this issue. Besides, the research revealed that National Maritime Security Plan
2015-2021, consisting of six strategies, are defensive strategies. However, as the result of this study,
the five new strategies were found. They are offensive strategies. To summarize, there are eleven
maritime security strategies (6 defensive strategies and 5 offensive strategies). In addition to results,
there are suggestions in this report providing with suggestions of policy, operation, and for the next
researches which make this research completely useful for the country.