เรื่อง: การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพชุมชนตามแนวชายแดนภาคเหนือของไทยให้เข้มแข็ง
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี ฉลองชัย ชัยยะคำ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การพัฒนาเสริมสรางศักยภาพชุมชนตามแนวชายแดนภาคเหนือของไทย
ใหเขมแข็ง
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย พลตรี ฉลองชัย ชัยยะคํา หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙
การวิจัย เรื่อง การพัฒนาเสริมสรางศักยภาพชุมชนตามแนวชายแดนภาคเหนือของ
ไทยใหเขมแข็งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนากระบวนการเสริมสรางความเขมแข็ง ศึกษาปจจัยที่มี
ผลกระทบและเสนอแนวทางในการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนตามแนวชายแดนภาคเหนือ
ของไทย โดยกระบวนการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนในโครงการหมูบานเขมแข็งคูขนาน
ในพื้นที่ภาคเหนือ ของกองกําลังผาเมือง เพื่อใหเกิดความรวนมือในดานประเพณีวัฒนธรรม
ดานสาธารณสุข ดานการพัฒนาคุณภาพชีวิต และความรวมมือในการแกปญหาในพื้นที่ชายแดน
วิธีการศึกษาประกอบดวยการ คนควาขอมูลจากเอกสารที่เกี่ยวของการเก็บขอมูลจาก
ภาคสนาม ประกอบการสัมภาษณเชิงลึก รวมถึงการสังเกตการณจากผูที่มีประสบการณทํางาน
ในโครงการหมูบานเขมแข็งคูขนานตามแนวชายแดนภาคเหนือ และนําขอมูลที่ไดเก็บรวบรวมมา
วิเคราะหเพื่อหาขอมูลสรุปในเชิงอุปมัย บทสรุปผลการวิจัย พบวา การพัฒนาเสริมสรางศักยภาพ
ชุมชนตามแนวชายแดนภาคเหนือจะเกิดความเขมแข็งไดนั้น ขึ้นอยูกับความรวมมือของทุกกลุม
บุคคล หากแตประเด็นและสาระสําคัญในการสรางความเขมแข็งอาจแตกตางกันออกไป ในกลุม
ขาราชการ การกําหนดนโยบายตาง ๆ ควรประยุกตใหสอดคลองกับสภาวะการณในพื้นที่ โดยไม
ขัดแยงกับนโยบาย แผนงานระดับประเทศ สําหรับกลุมผูนําองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น ควรให
ความสําคัญกับการนํานโยบาย แผนงาน โครงการ ไปถายทอดใหกับประชาชนในพื้นที่ไดรับรู
เขาใจ รับทราบในวัตถุประสงคการดําเนินงาน รวมไปถึงการเฝาระวัง ติดตาม และมุงแกไขปญหา
ที่เกิดขึ้นในชุมชนที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะการณและยุคสมัยอยูเสมอ โดยตองพัฒนาสัมพันธ
กับผูนําชุมชนในฝงหมูบานคูขนานตามแนวชายแดนควบคูไปดวย ในขณะที่ภาคประชาชนนั้น
ความศิวิไลซและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม คือปจจัยหลักที่สงผลตอการพัฒนาเสริมสราง
ความเขมแข็งในชุมชน กลุมประชาชนตองรวมมือรวมใจสรางความเขมแข็งระหวางชุมชนควรมีการ
แลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารระหวางกัน การพัฒนาสัมพันธผานการจัดกิจกรรมในลักษณะ
สื่อกลาง อาทิงานบุญ ประเพณีทองถิ่น และเทศกาลตาง ๆ เปนอีกทางเลือกหนึ่งในการเชื่อมโยง
ความสัมพันธระหวางชุมชนใหเกิดความใกลชิด กระทั่งพัฒนาไปสูความเขมแข็งระหวางชุมชนได
abstract:
Abstract
Title : Community Potential and Strength Developmentfor Northern Border
of Thailand
Filed : Social Psychology
Name: Major General Colonel Chalongchai Chaiyakam Course NDC Class 59
The purpose of this research aims to develop strengthening process,
study on impact factors and propose ways to strengthen Thai northern border
community by parallel strong village project located in the north of the Pha Muang
task force to create tradition, culture, public health cooperation including quality of
life development together with solving problem of border areas. The study method
consists of research from relevant documents, fielding data collections by depth
interview, observation from experienced people in parallel strong village projects
along the northern border and performing data analysis to find synopsis.
The research findings revealed that the success of strength development
for community along the northern border depends on the cooperation of all groups
and individuals varied for each significant issue. In case of officials section, proper
policy should be applied in local area without conflict with national plan. In terms
of local governor and authoritarian, It is importance to focus on the policy plan or
scheme implication for creating people recognition and realization in the area
including continuous monitoring, following-up, and solving problem based on
changed community by keeping good relationship with the local leader. Meanwhile,
for the civil section, civilization and community changing are the major factors of
strengthened community. Ever part of civil society needs to cooperate and
encourage strength for their community and also exchanges information the through
public activities like local festival which is another alternative for keeping good
relationship and coziness in the community until establishing strengthened
community at last.