Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพชุมชนตามแนวชายแดนภาคเหนือของไทยให้เข้มแข็ง

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี ฉลองชัย ชัยยะคำ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง การพัฒนาเสริมสรางศักยภาพชุมชนตามแนวชายแดนภาคเหนือของไทย ใหเขมแข็ง ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย พลตรี ฉลองชัย ชัยยะคํา หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙ การวิจัย เรื่อง การพัฒนาเสริมสรางศักยภาพชุมชนตามแนวชายแดนภาคเหนือของ ไทยใหเขมแข็งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนากระบวนการเสริมสรางความเขมแข็ง ศึกษาปจจัยที่มี ผลกระทบและเสนอแนวทางในการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนตามแนวชายแดนภาคเหนือ ของไทย โดยกระบวนการเสริมสรางความเขมแข็งของชุมชนในโครงการหมูบานเขมแข็งคูขนาน ในพื้นที่ภาคเหนือ ของกองกําลังผาเมือง เพื่อใหเกิดความรวนมือในดานประเพณีวัฒนธรรม ดานสาธารณสุข ดานการพัฒนาคุณภาพชีวิต และความรวมมือในการแกปญหาในพื้นที่ชายแดน วิธีการศึกษาประกอบดวยการ คนควาขอมูลจากเอกสารที่เกี่ยวของการเก็บขอมูลจาก ภาคสนาม ประกอบการสัมภาษณเชิงลึก รวมถึงการสังเกตการณจากผูที่มีประสบการณทํางาน ในโครงการหมูบานเขมแข็งคูขนานตามแนวชายแดนภาคเหนือ และนําขอมูลที่ไดเก็บรวบรวมมา วิเคราะหเพื่อหาขอมูลสรุปในเชิงอุปมัย บทสรุปผลการวิจัย พบวา การพัฒนาเสริมสรางศักยภาพ ชุมชนตามแนวชายแดนภาคเหนือจะเกิดความเขมแข็งไดนั้น ขึ้นอยูกับความรวมมือของทุกกลุม บุคคล หากแตประเด็นและสาระสําคัญในการสรางความเขมแข็งอาจแตกตางกันออกไป ในกลุม ขาราชการ การกําหนดนโยบายตาง ๆ ควรประยุกตใหสอดคลองกับสภาวะการณในพื้นที่ โดยไม ขัดแยงกับนโยบาย แผนงานระดับประเทศ สําหรับกลุมผูนําองคกรปกครองสวนทองถิ่นนั้น ควรให ความสําคัญกับการนํานโยบาย แผนงาน โครงการ ไปถายทอดใหกับประชาชนในพื้นที่ไดรับรู เขาใจ รับทราบในวัตถุประสงคการดําเนินงาน รวมไปถึงการเฝาระวัง ติดตาม และมุงแกไขปญหา ที่เกิดขึ้นในชุมชนที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะการณและยุคสมัยอยูเสมอ โดยตองพัฒนาสัมพันธ กับผูนําชุมชนในฝงหมูบานคูขนานตามแนวชายแดนควบคูไปดวย ในขณะที่ภาคประชาชนนั้น ความศิวิไลซและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม คือปจจัยหลักที่สงผลตอการพัฒนาเสริมสราง ความเขมแข็งในชุมชน กลุมประชาชนตองรวมมือรวมใจสรางความเขมแข็งระหวางชุมชนควรมีการ แลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารระหวางกัน การพัฒนาสัมพันธผานการจัดกิจกรรมในลักษณะ สื่อกลาง อาทิงานบุญ ประเพณีทองถิ่น และเทศกาลตาง ๆ เปนอีกทางเลือกหนึ่งในการเชื่อมโยง ความสัมพันธระหวางชุมชนใหเกิดความใกลชิด กระทั่งพัฒนาไปสูความเขมแข็งระหวางชุมชนได

abstract:

Abstract Title : Community Potential and Strength Developmentfor Northern Border of Thailand Filed : Social Psychology Name: Major General Colonel Chalongchai Chaiyakam Course NDC Class 59 The purpose of this research aims to develop strengthening process, study on impact factors and propose ways to strengthen Thai northern border community by parallel strong village project located in the north of the Pha Muang task force to create tradition, culture, public health cooperation including quality of life development together with solving problem of border areas. The study method consists of research from relevant documents, fielding data collections by depth interview, observation from experienced people in parallel strong village projects along the northern border and performing data analysis to find synopsis. The research findings revealed that the success of strength development for community along the northern border depends on the cooperation of all groups and individuals varied for each significant issue. In case of officials section, proper policy should be applied in local area without conflict with national plan. In terms of local governor and authoritarian, It is importance to focus on the policy plan or scheme implication for creating people recognition and realization in the area including continuous monitoring, following-up, and solving problem based on changed community by keeping good relationship with the local leader. Meanwhile, for the civil section, civilization and community changing are the major factors of strengthened community. Ever part of civil society needs to cooperate and encourage strength for their community and also exchanges information the through public activities like local festival which is another alternative for keeping good relationship and coziness in the community until establishing strengthened community at last.