เรื่อง: รูปแบบการออกกำลังกายสำหรับผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง จุฬาลักษณ์ ฟูรูโนะ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรือง รูปแบบการออกกําลังกายสําหรับผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย นางจุฬาลักษณ์ ฟูรูโนะ หลักสูตรวปอ.รุ่นที
ปัจจุบันประเทศไทยได้มีการเปลียนแปลงโครงสร้างประชากรของไทยเกิดขึนอย่าง
รวดเร็ว ทําให้ประเทศก้าวเข้าสู่การเป็ นสังคมผู้สูงอายุ ด้วยสถิติทีจะมีคนอายุเกิน 60 ปี มากกว่า
20% ขึนไปของประชากรทังหมดภายในปี2570 ทําให้ผู้สูงอายุในปัจจุบันต้องเผชิญกับการ
เปลียนแปลงทังทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสติปัญญา วัตถุประสงค์ของการศึกษานี คือ
ศึกษาสถานการณ์การออกกําลังกายของผู้สูงอายุในกรุงเทพมหานคร รวมถึงวิเคราะห์ปัญหา
ทีเกิดขึนจากการออกกําลังกาย และเสนอรูปแบบทีเหมาะสมในการออกกําลังกายของผู้สูงอายุ
ในกรุงเทพมหานคร ซึงจะส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตและมีความรู้สึกต่อตนเอง และความรู้สึก
ต่อการดําเนินชีวิตทีดี
การวิจัยนีเป็ นการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารวิชาการ
ต่าง ๆ การสังเกต (Observation) ทังแบบไม่มีส่วนร่วมและแบบมีส่วนร่วมและการสัมภาษณ์
ซึงประกอบด้วยเทคนิค ประการ คือการสัมภาษณ์เชิงลึก เฉพาะบุคคล (In-depth Interview)และ
การสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) ซึงประชากรทีใช้ในการศึกษา คือ ผู้สูงอายุทีมีอายุ
ตังแต่ ปี ขึนไป ทังชายและหญิงโดยนับอายุตามปฎิทินทังในภาครัฐ ภาครัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน
และภาคประชาชน ทีอาศัยในกรุงเทพมหานคร
ผลการวิจัยพบว่า ผู้สูงอายุทังภาครัฐ ภาครัฐวิสาหกิจ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
ทุกคนมีความเห็นว่า ผู้สูงอายุทีมีการออกกําลังกายเป็ นประจํา สามารถพัฒนาความสามารถในการ
ทํางานได้ส่งผลดีต่อคุณภาพชีวิตทีดีขึน หากเลือกรูปแบบทีเหมาะสมโดยต้องเป็ นรูปแบบทีไม่ยาก
แก่การปฏิบัติ มีการออกกําลังกายสมําเสมอ สามารถรักษาสภาพร่างกายให้อ่อนกว่าอายุได้
ทําจิตใจให้สบายไม่เครียด เพิมความยืดเหยียดของกล้ามเนือ เอ็น ข้อ เพิมความแข็งแรงให้แก่ปอด
และหัวใจ ทําให้สุขภาพชีวิตดีขึน สมองทํางานได้ดีขึน และความจําดีขึน เกิดความรู้สึกทีดีต่อ
ตนเอง โดยมีความสามารถแลกเปลียนความคิดเห็นกับผู้อืน มีความรู้สึกพอใจกับการออกกําลังกาย
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อืนได้อย่างมีความสุข มีความสบายใจ มีความสุขและมีการตืนตัวตลอดเวลา
ในการดําเนินชีวิต แม้ว่าจะต้องใช้เวลานานกว่าวัยหนุ่มสาวบ้าง โดยประมาณ 6 - 10 สัปดาห์ข
จึงจะเห็นการเปลียนแปลง การออกกําลังกายให้ประโยชน์หลายประการ ซึงจะช่วยให้ช่วงชีวิต
ทีเหลืออยู่ดําเนินไปอย่างมีคุณภาพ มีคุณค่า สามารถดํารงชีวิตอย่างอิสระ ทําให้ผู้สูงวัยเหล่านีมี
ความรู้สึกทีดีต่อตนเอง และมีความรู้สึกต่อการดําเนินชีวิตให้มีความสุขกาย และจิตใจทีแจ่มใสเบิก
บาน อันเป็ นสิงทีพึงปรารถนาของผู้สูงอายุทุกคน
abstract:
ABSTRACT
Title : The exercise model for the elderly in Bangkok
Field : Social psychology
Name : Mrs. Chulalak Furuno Course NDC Class 59
Thailand has rapidly changed its demographic structure that makes the country step
into the elderly society. According to the statistics record, more than 20% of population will be
over 60 years old by year 2070. The elderly will face problems that occur such as physical,
mental, emotional, and intellectual changes. The purpose of this case is to study the exercise
forms for the elderly in Bangkok; including the analysis of problems arising from the exercise.
The study also offers the appropriate form of exercise for the elderly in Bangkok. This will result
in higher quality of life for the elderly, and make them feel better along with a good sense of well- being.
This research is a qualitative study using the data collected from academic papers,
and observations. We do both ways with non-participatory, and participatory, and interviewing.
It consists of two techniques. There are in-depth interview, and group discussion which using
populations of male and female of aged from 60 years, and over based on the calendar year in the
government sector, State-owned, and private sectors who living in Bangkok.
The research found that the elderly people who always do regularly exercise and
also choose the right exercise format, they can improve the ability to work, and could develop in
better quality of life. However, the exercise form should not be too difficult to practice.
Exercising regularly can maintain a young looking, healthy body, and good mind. Moreover,
it will increased elasticity of the ligaments, strengthens the lungs and heart. Besides, it will
improve brain functioning. Even though elderly takes longer time doing exercise to see changes,
or good result than Youngers, but exercise definitely offers several benefits for them. This will
allow their remaining life span to proceed with good quality.