เรื่อง: การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการจัดตั้งศูนย์จัดการกากอุตสาหกรรมแบบครบวงจรในภาคเหนือของประเทศไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย จุลพงษ์ ทวีศรี
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง การวิเคราะห์ความค้มค่าของการจัดตังศ ุ ูนย์จัดการกากอตสาหกรรมแบบครบวงจร ุ
ในภาคเหนือของประเทศไทย
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผ้วิจัย นายจ ู ุลพงษ์ ทวีศรี หลักสูตร วปอ. ร่นที
๕๙ ุ
การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของการจัดตังศูนย์จัดการกากอุตสาหกรรมแบบครบวงจรใน
ภาค เหนือของประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื(อวิเคราะห์ผลกระทบและผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ
สําหรับค่าใช้จ่ายในการกาจัดกากอุตสาหกรรมของโรงงานในภาคเหนือ หากมีการพัฒนา ํ “ศูนย์
จัดการกากอุตสาหกรรมแบบครบวงจร (ศูนย์ฯ)” ขึนในจังหวัดลําปาง หรือลําพูน หรือตาก และ
ความเห็นของภาคธุรกิจในภาคเหนือต่อการจัดตังศูนย์ฯ โดยการวิจัยในครังนีเป็ นการวิจัยเชิง
คุณภาพ มีการรวบรวมการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลปริมาณกากอุตสาหกรรมของโรงงานผู้
ก่อกาเนิด (Waste Generator : WG) โรงงานผู้ก ํ าจัด (Waste Processor :WP) ปริ มาณกาก ํ
อุตสาหกรรมที(โรงงานผู้กาจัด (WP) ในภูมิภาคอื(นรับมาจากโรงงานผู้ก ํ ่อกาเนิด (WG) ในภาคเหนือ ํ
ค่าใช้จ่ายในการกาจัดกากอุตสาหกรรม และการสัมภาษณ์ผ ํ านแบบสอบถามก ่ บสภาอุตสาหกรรม ั
จังหวัดและหอการค้าจังหวัด
ผลการวิจัยพบวา ค่ ่าขนส่งเป็ นตัวแปรที(มีความสําคัญในการจัดการกากอุตสาหกรรม
โดยในปี ๒๕๕๙ ค่าขนส่งกากอุตสาหกรรม จํานวนประมาณ ๒.๒ ล้านตัน จากโรงงานผู้ก่อกาเนิด ํ
(WG) ในภาคเหนือออกไปกาจัดยังโรงงานผู้ก ํ าจัด (WP) ที(อยู ํ ในจังหวัดตนเอง ในภาคเหนือและใน ่
ภูมิภาคอื(น ประมาณ ๓,๒๐๐ ล้านบาท เมื(อจําลองจังหวัดที(มีความเหมาะสมสําหรับจัดตังศูนย์ฯ
พบว่า ค่าขนส่งลดลงร้อยละ ๒๐-๒๕ หรื อประมาณ ๗๐๐-๘๐๐ ล้านบาทต่อปี ในส่วนผลการ
สอบถามความเห็นของกลุ่มธุรกิจด้านการค้าและอุตสาหกรรมพบว่า ทังหมดสนับสนุนให้มีการ
จัดตังศูนย์ฯ ในภูมิภาค
ข้อเสนอแนะสําหรับการวิจัยในครังนี ได้แก่ การกากํ ับดูแลโรงงานที(เข้มงวดขึน
กวาเดิม จะสามารถทําให้โรงงานประมาณร้อยละ ๙๐ ที(ยังมิได ่ ้มีการจัดการกากอุตสาหกรรมอยาง่
ถูกต้อง ให้ปฏิบัติตามกฎหมาย จะทําให้กากอุตสาหกรรมถูกนําไปจัดการเพิ(มมากขึนประมาณร้อย
ละ ๖๐ ส่งผลให้ระยะเวลาคืนทุนของการจัดตังศูนย์ฯ จะเร็วมากยิ(งขึน และควรให้มีการศึกษามิติ
ทางสังคมเพิ(มเติม ได้แก่ การยอมรับของประชาชนและชุมชนในพืนที( ก่อนตัดสินใจเลือกจังหวัดใด
จังหวัดหนึ(ง รวมทังการพิจารณาให้ผลตอบแทนพิเศษแก่ประชาชนในพืนที(หรือในจังหวัดเป้ าหมาย
abstract:
Abstract
Title An analysis of the cost-effectiveness of the establishment of integrated
waste management center in Northern Thailand
Field Economics
Name Mr. Jullapong THAVEESRI Course NDC Class 59
An analysis of the cost-effectiveness of the establishment of integrated waste management
center (IWMC) in Northern Thailand is intentionally to analyze the impact and economic benefits
for the cost of industrial waste disposal of factories and the opinions of the business sector in the
north, when an IWMC is to be developed in Lampang, Lamphun, or Tak. This research is a
quantitative investigation including collection and analysis of industrial waste data of Waste
Generator (WG), Waste Processor (WP), the amount of industrial wastes received by WP other
regions from WG in the north, the cost of waste disposal, and questionnaire interviews with the
Federation of Thai Industries and the Chamber of Commerce in the northern provinces.
The research found that transportation expense is a crucial variable in industrial waste
management. By 2016, industrial waste transportation amounted to about 2.2 million tonnes from
WG in the north, sent to WP located in the province itself, in other provinces in the north, and in
other regions, cost about 3,200 million baht. When simulating the province suitable for
establishing IWMC, it was found that the transportation cost is reduced by 20-25 percent or about
700-800 million baht per year. While all the provincial trade and industry showed support for the
establishment of IWMC.
Recommendations for this research are the followings: (1) more stringent factory
superintendence, this would enable to bring in approximately 90% of factories with improperly
waste management and about 60% of unmanaged waste to be disposed of in accordance with the
existing industrial waste regulations, and, as a consequence, the payback period of the
establishment of IWMC will be greatly shortened, and (2) further study of social dimensions
should also be carried out; this includes to the acceptance by the people and communities in the
target area prior to the decision to choose one of the target provinces, and considerations for
special benefits to local people in the target area or in a target province.