Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การเสริมสร้างศักยภาพนักวิจัยของประเทศไทยสู่สังคมเศรษฐกิจฐานนวัตกรรม

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการศึกษา/Education
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว จันทร์เพ็ญ เมฆาอภิรักษ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ บทคัดยอ เรื่อง การเสริมสรางศักยภาพนักวิจัยของประเทศไทยสูสังคมเศรษฐกิจ เรื่อง ฐานนวัตกรรม ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร&และเทคโนโลยี ลักษณะวิชา ผูวิจัย นางสาวจันทร&เพ็ญ เมฆาอภิรักษ& หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙ ผูวิจัย ๑. การพัฒนาสูประเทศไทย ๔.๐ เป7นเป8าหมายสําคัญในการปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจ ของประเทศใหกาวพนจากกับดักประเทศรายไดปานกลาง ขณะที่จุดออนที่สําคัญประการหนึ่งคือบุคลากรดาน การวิจัยและพัฒนาของประเทศยังไมเพียงพอตอการพัฒนาในระดับกาวหนา จึงตองเรงสรางและเสริม ศักยภาพ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค&เพื่อ ๑) ศึกษาสถานภาพการพัฒนานักวิจัย และลําดับความสําคัญใน การพัฒนานักวิจัยตาม ๑๐ อุตสาหกรรมเป8าหมายของประเทศ ๒) ศึกษาแนวทางการเสริมสรางศักยภาพ นักวิจัยสูการพัฒนานวัตกรรมและวิสาหกิจในสหภาพยุโรป และ ๓) เพื่อศึกษาความเป7นไปไดที่จะปรับใชแนว ทางการเสริมสรางศักยภาพนักวิจัยสูการพัฒนานวัตกรรมและวิสาหกิจของสหภาพยุโรปกับประเทศไทย โดย ขอบเขตของการวิจัยครอบคลุม การเปรียบเทียบขอมูลนักวิจัยและผลลัพธ&งานวิจัยระหวางประเทศไทยกับ ประเทศสมาชิกใหมของสหภาพยุโรป ศึกษาสถานภาพการพัฒนานักวิจัยสูการพัฒนานวัตกรรมและวิสาหกิจของ ประเทศไทย ประมวลยุทธศาสตร&การพัฒนานักวิจัยในการผลิตผลงานคุณภาพของสหภาพยุโรปที่ประสบ ความสําเร็จ รวมทั้ง สัมภาษณ&ผูบริหารและทรงคุณวุฒิ ๑๐ ทาน พบวา สวนใหญเห็นดวยกับการพัฒนา นักวิจัยควบคูกับการพัฒนาชุมชนนวัตกรรม ผูใหสัมภาษณ&ทั้งหมดเห็นดวยกับการเสริมสรางศักยภาพนักวิจัย ใหมีความสามารถสอดคลองกับความตองการของอุตสาหกรรมที่พัฒนามาจากแนวคิดของสหภาพยุโรป การ พัฒนาหลักสูตรปริญญาเอกอุตสาหกรรมที่ตอบโจทย&ของวิสาหกิจ และการหมุนเวียนนักวิจัยระหวาง ภาคอุตสาหกรรม สถาบันวิจัยและมหาวิทยาลัย รวมทั้ง การพัฒนาชุมชนนวัตกรรม ผูใหสัมภาษณ&ทั้งหมด เห็นดวยวาควรเตรียมความพรอมของเยาวชนใหเป7นคนดีและเกงที่มีความสามารถในการคิดวิเคราะห& โดย ผูวิจัยเสนอ “ยุทธศาสตร&การเสริมสรางศักยภาพนักวิจัยสูสังคมเศรษฐก ยุทธศาสตร&การเสริมสรางศักยภาพนักวิจัยสูสังคมเศรษฐกิจฐานนวั ยุทธศาสตร&การเสริมสรางศักยภาพนักวิจัยสูสังคมเศรษฐกิจฐานนวัตกร ิจฐานนวัตกรรม” ซึ่งมีแนวทางในการ ดําเนินการคือ ๑) การจัดตั้งศูนย&ชุมชนนวัตกรรม ซึ่งทําหนาที่บริหารจัดการและประสานใหเกิดกระบวนการ สรางนักวิจัยตามความตองการของแตละอุตสาหกรรมเป8าหมาย ที่เชื่อมโยงระหวาง เครือขายมหาวิทยาลัย เครือขายสถาบันวิจัย และเครือขายวิสาหกิจ ตลอดหวงโซนวัตกรรม แบบครบวงจร ๒) แตงตั้งคณะกรรมการ เสริมสรางศักยภาพนักวิจัยสูสังคมเศรษฐกิจฐานนวัตกรรมเป7นกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร& ๓) การเตรียม ความพรอมของเยาวชนใหเป7นคนดีมีคุณธรรมและจริยธรรม และ เกงดวยสะตีมศึกษา (Science, Technology, Engineering, Art and Mathematics-STEAM) ที่จะกาวสูนักวิจัยที่จะพัฒนานวัตกรรม โดย การปรับหลักสูตรการศึกษาเพิ่มเติม แบงเป7น ๓ ระดับ คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา และ ระดับ ปริญญาตรี และ ๔) การกําหนดมาตรการสรางแรงจูงใจในการสงเสริมนักวิจัยตลอดเสนทางอาชีพ

abstract:

ABSTRACT Title: Capacity Building of Thailand Researchers for Innovation–Based Economy Field: Science and Technology Field: Name: Miss Junpen Meka-apiruk Course: NDC Class: 59 Development towards Thailand 4.0 has been a crucial goal for national economic restructuring to cross middle income trap, meanwhile, the scarcity of research and development personnel in the cutting edge level considered to be a weakness. Therefore, training for more researchers and capacity building across the whole research career must be hastened. The objectives of this research were (i) to study on Thailand status of researcher development and priority setting of the 10 national target industries as concerns (ii) to study on European Union strategies and means for building up capacity of researchers together with development of innovation and enterprises and (iii) to study the feasibility on capacity building of Thai researchers oriented to innovation and enterprises. Scope of research covered comparing of data on researchers and research results among Thailand and new European Union member states, studying on Thailand status of researcher development for innovation and enterprise enhancement, compiling European Union successful strategies to support researchers for creating high quality results, and, interviewing 10 executives and high level experts in the public and private sectors. Methodologies for processing quantitative data were percentages, and for qualitative data were content analysis. Results showed that all of the interviewees agreed on building up capacity of researchers driven by industrial sector, setting up curriculum of Industrial Doctorates to train researchers for enterprises with mobility of researchers among universities, industries and research centers. Majority of the interviewees agreed on establishing innovation community center in every single target industry. All the interviewees agreed to prepare young generation to be decent and smart with analytical thinking skills. Proposals and recommendations were (i) policy level should arrange the Capacity Building of Researchers for Innovation–Based Economy for national strategy to promote across research career path with budget commitment (ii) operation level should establish centers for innovation communities as one stop services in each target industry to connect enterprise network with university network and research center network within the whole value chain, set up National Committee on Capacity Building of Researchers for innovation-based Economy to drive the proposed strategy, and arrange quality research workforce with Science-Technology￾Engineering-Art-Mathematics-STEAM education in 3 levels composed of primary, secondary and first degree levels.