เรื่อง: การพัฒนาต้นแบบจำลองการปรับเปลี่ยนสินค้าเกษตรสำคัญในพื้นที่เขตเกษตรเศรษฐกิจ เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย คมสัน จำรูญพงษ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย อ บทคัดย อ
เรื่อง เรื่อง การพัฒนาตนแบบจําลองการปรับเปลี่ยนสินคาเกษตรสําคัญในพื้นที่เขตเกษตร
เศรษฐกิจ (Zoning) เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ลักษณะวิชา
ผูวิจัย ผูวิจัย นายคมสัน จํารูญพงษ3 หลักสูตร หลักสูตร หลักสูตร วปอ. รุ นที่ รุ นที่ รุ นที่ 59
เขตเกษตรเศรษฐกิจ (Zoning) หรือการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม เป9นนโยบายสําคัญเร งด วน
ที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ3 (กษ.) นํามาแกไขป<ญหาปริมาณผลผลิตสินคาเกษตรเกินความตองการของตลาด
จนส งผลใหราคาตกต่ํา การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค3 เพื่อศึกษาป<จจัยที่มีต อการปรับเปลี่ยนอย างยั่งยืนจาก
การปลูกขาวไปเป9นพืชหรือสินคาชนิดอื่นทดแทนในพื้นที่ไม เหมาะสม (N) และเพื่อศึกษารูปแบบที่เหมาะสมของ
การปรับเปลี่ยนการผลิตสินคาเกษตรในพื้นที่เขตเกษตรเศรษฐกิจ โดยนํารูปแบบจําลองที่ไดมาพัฒนาร วมกับ
ขอมูลพื้นฐานสําคัญต างๆ มาสรางโปรแกรม (Program) หรือ Application ที่ใชงานไดง ายบนอุปกรณ3ต างๆ โดย
ไดใชแบบจําลองโพรบิท (Probit) ในการศึกษาเพื่อทราบถึงป<จจัยที่มีผลต อการปรับเปลี่ยนอย างยั่งยืน จากขอมูล
ตัวอย าง 438 ราย พบว า ป<จจัยที่มีผลต อการปรับเปลี่ยนอย างยั่งยืนจากการปลูกขาวไปเป9นพืชชนิดอื่นทดแทน
ในพื้นที่ไม เหมาะสม (N) ประกอบดวย 1) ภูมิภาค คือ เกษตรกรภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือมีความ
น าจะเป9นสูงที่จะปรับเปลี่ยนอย างยั่งยืน เนื่องจากประสบป<ญหาราคาขาวตกต่ํา ตนทุนการผลิตสูง ภัยธรรมชาติ
และตองการปรับเปลี่ยนเป9นสินคาอื่นอยู แลว 2) ความรู คือ ความเขาใจเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการฯ ที่มากขึ้น
ส งผลใหมีความน าจะเป9นสูงในการปรับเปลี่ยนอย างยั่งยืน 3) จํานวนแรงงานเกษตรในครัวเรือน คือ จํานวน
แรงงานเกษตรในครัวเรือนที่มากส งผลใหมีความน าจะเป9นในการการปรับเปลี่ยนอย างยั่งยืนเพิ่มขึ้น 4) ชนิด
สินคาที่ปรับเปลี่ยนแทน คือ การผลิตขาวโพดเลี้ยงสัตว3และมันสําปะหลังมีความน าจะเป9นสูงที่กลับไปปลูกขาว
เหมือนเดิมหากป<จจัยต างๆ ดีขึ้น โดยการปรับเปลี่ยนเป9นปศุสัตว3และเลี้ยงปลามีแนวโนมปรับเปลี่ยนอย างยั่งยืน
และ 5) การไดรับเงินชดเชยคือ การรับเงินอุดหนุนและเงินชดเชยจากภาครัฐไม ไดช วยใหปรับเปลี่ยนอย างยั่งยืน
ขอเสนอแนะ 1) เร งดําเนินการสรางการรับรู/ความเขาใจกับเกษตรกรในพื้นที่ที่ไม เหมาะสม
2) สนับสนุนและส งเสริมครัวเรือนเกษตรกรที่มีแรงงานเกษตรในครัวเรือนเขาร วมโครงการก อนครัวเรือนที่ไม
มีแรงงานเกษตรในครัวเรือน 3) เร งสรางชุดขอมูลชนิดสินคาเกษตรที่มีความเหมาะสมกับพื้นที่ เพื่อเป9นขอมูล
ประกอบการตัดสินใจในรูปแบบโปรแกรม (Program) หรือ Application ใหสามารถใชงานไดง ายบนอุปกรณ3
ต าง ๆ 4) เร งปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกขาวในพื้นที่ที่ไม เหมาะสมในภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือก อน
เป9นอันดับแรก 5) เร งศึกษาผลของมาตราการช วยเหลือเกษตรกรที่ไดใหการช วยเหลือ ใหมีผลต อการตัดสินใจ
ปรับเปลี่ยน และ 6) เร งศึกษาถึงป<จจัยอื่นที่มีผลกระทบต อการตัดสินใจในการปรับเปลี่ยนเพื่อนําไปกําหนด
นโยบายและมาตรการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map)
abstract:
Abstract Abstract
Title: Developing a Model for Smart and Sustainable Change in Zoning Areas.
Field: Economics
Name:Mr. Komsan jumroonpongCourse : Course : Course : NDC Class: 59
“Zoning” or “Agricultural Land Management” is one the most urgent policies implemented
by the Ministry of Agriculture and Agricultural Cooperatives. The policy aims to solve the problem of excess
supply, which results in a price reduction. This study examines potential factors that drive farmers’ incentive
to change, in a sustainable way, from rice farming to other crops or products in unsuitable areas (N) and
draws a pattern of farmer behavior for “Smart and Sustainable Change” in zoning areas. Results obtained
from this study can be developed into an application or program that can be run on any device. By using
Probit regression analysis of 438 sampled households, this study shows that there are some significant
factors that influence a decision to change towards sustainability in unsuitable areas (N). Firstly for
geographical location, farmers in north-eastern and northern regions are more willing to change from rice
faming to other crops or products since they have been encountering a fall in rice price, high production
costs, and natural disasters. Secondly for perception, this study shows that the more the farmers know
about “Zoning” policy, the higher the opportunity for them to change. Thirdly for labor force, the number
of in-house agricultural labors is positively correlated with the willingness to change. Next for alternative
crops, a decision to change from rice farming to animal-feeding maize and cassava is not sustainable, unlike
livestock and fishery. Lastly, government subsidy fails to persuade farmers to change towards sustainability.
Key suggestions are (1) we, as the public section, need to inform farmers living in unsuitable
areas (N) about this Zoning policy, making them to be aware of their benefits once they join the program;
(2) we need to encourage households having their own farm labors to participate in the program as a
priority group; (3) we need to develop “A Model of Smart and Sustainable Change” that links information
on land suitability and alternative crops or products in order to be served in a decision planning application
or program; (4) we need to concentrate more on farmers in the north-east and those in the north; (5) we
need to study and re-design new incentive mechanisms that successfully persuade farmers to participate in
this program and change towards sustainability; (6) we need to investigate more on influential factors that
drive farmers’ incentive to change in order to formulate a policy for Zoning by Agri-Map.