เรื่อง: แนวทางการพัฒนาระบบการข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ และการลาดตระเวน (ISR) ของกองทัพอากาศ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลอากาศตรี คงศักดิ์ จันทรโสภา
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แน วท างก า รพัฒน า ร ะ บบ ก า ร ข่ า วก ร อง ก า รเ ฝ้ า ต ร ว จ แล ะ
การลาดตระเวน (ISR) ของกองทัพอากาศ
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พลอากาศตรี คงศักดิ์ จันทรโสภา หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๙
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์แนวคิด/หลักนิยม กระบวนการด าเนินงาน
ขีดจ ากัด และปัญหา ข้อขัดข้อง ของภารกิจการข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ และการลาดตระเวน ( ISR)
ของกองทัพอากาศในยุคการปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง ที่น าไปสู่การก าหนดแนวทางการ
พัฒนาภารกิจการข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ และการลาดตระเวน (ISR) ของกองทัพอากาศ สอดคล้อง
กับภัยคุกคามจากประเทศรอบบ้าน เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร แนวคิด/
หลักนิยม กรอบยุทธศาสตร์นโยบายผู้บังคับบัญชา และการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ ที่เกี่ยวข้อง
ผลการวิจัยสรุปได้ว่า แนวทางการพัฒนาระบบการข่าวกรอง การเฝ้าตรวจ และ
การลาดตระเวน (ISR) ของกองทัพอากาศ ในยุคการปฏิบัติการที่ใช้เครือข่ายเป็นศูนย์กลาง ต้องเพิ่ม
หน่วยงานด้านการข่าวในระดับปฏิบัติการ พัฒนาความรู้ด้านการข่าวกรอง การเฝ้าตรวจทางอากาศ
และการลาดตระเวนทางอากาศ วางแผนจัดหาอากาศยานเพิ่มเติม และเตรียมการศึกษากระบวนงาน
วงรอบการก าหนดเป้าหมาย ก่อนเปลี่ยนผ่านไปสู่เทคโนโลยีรุ่นใหม่ที่จะมีการจัดหาและประจ าการ ใน
อนาคต
ข้อเสนอแนะค ว รมีกองข่ าวก รอง ก า รเฝ้ าต รวจ แล ะก า รล าดตร ะเ วน
(ISR: Intelligence Surveillance and Reconnaissance Division) ในระดับปฏิบัติ เปลี่ยนชื่อ
ส่วนข้อมูลการยุทธ ในศูนย์ยุทธการทางอากาศ (โครงสร้างการใช้ก าลัง) เป็น ส่วนข่าวกรองการยุทธ
และพัฒนาบุคลากรเพื่อยกระดับงานด้านการข่าวกรองในศูนย์ยุทธการทางอากาศ
abstract:
Abstract
Title Guidelines for the Development of Intelligence Surveillance and
Reconnaissance for the Royal Thai Air Force
Field Military
Name Air Vice Marshal Kongsak Chantarasopa Course NDC Class 59
The objective of this research is to analyze the concept/doctrine,
procedures, limitation, and difficulties associated with the missions related to the
Intelligence, surveillance, and Reconnaissance (ISR) of the Royal Thai Air Force (RTAF)
during the age of the Network Centric Operations. The accomplishment of such
objective will lead to the definition of the guidelines in the development of the ISR
missions in the RTAF in correspondence with the threats from neighbor countries.
This qualitative research was completed through the accumulation of the
related documents, concept/doctrine, strategic framework, policies from commanding
officers, and expert interviews.
It can be summarized from the research that it is necessary in term of the
guidelines in the development of the ISR missions in the RTAF to set up more
intelligence-related agencies in the operational level, improvement of the ISR-based
knowledge, planning to procure more aircraft, and preparation of the studies in the
targeting cycle procedures prior to the transition to the modern technology to be
acquired and stationed in the future.
It is suggested that there be the ISR Division in the operational level with
the adjustment of the title while the combat information in the Air Operations Center
(force employment structure) belongs to the combat intelligence section. In order to
upgrade the intelligence tasks in the Air Operations Center, capability of the
personnel must also be improved.