เรื่อง: แนวทางการเสริมสร้างหมู่บ้านชุมชนให้เกิดความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของกองทัพภาคที่ 2 ในพื้นที่ชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก เกียรติศักดิ์ วิเวก
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการเสริมสรางหมูบานชุมชนใหเกิดความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืนตามปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงของกองทัพภาคที่ ๒ ในพื้นที่ชายแดนภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย พ.อ.เกียรติศักดิ์ วิเวก หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปนภูมิภาคหนึ่ง มีประชากรและพื้นที่ประมาณ ๑ ใน ๓ ของ
ประเทศ ประชากรสวนใหญมีอาชีพเกษตรกรรมแตพื้นที่ไมคอยอุดมสมบูรณลักษณะดินเปนดินเค็ม
และสภาพดินเปนดินบนทราย เมื่อฝนตกไมสามารถกักเก็บน้ําไดทําใหการเพาะปลูกไดผลผลิตไมดี
เทาที่ควรเกิดปญหาความยากจน ประชาชนในวัยทํางานสวนมากอพยพยายถิ่น เพื่อหางานทําเขาสู
เมืองใหญกลายเปนปญหาสังคมในเขตเมืองใหญ และเนื่องจากภาคตะวันออกเฉียงเหนืออยูติดกับ
ประเทศเพื่อนบาน คือ สสป.ลาว และกัมพูชา ประกอบกับปจจุบันประเทศไทยไดกาวเขาสูประชาคม
อาเซียน (ASEAN Community - AC) ตั้งแตปลายป๒๕๕๘ ที่ผานมา ทําใหเกิดผลกระทบในดาน
ตางๆ ตามแนวชายแดน โดยเฉพาะปญหาภัยคุกคามรูปแบบใหม ซึ่งมีความสลับซับซอนมากยิ่งขึ้น
และคาดการณไดยาก ทําใหประเทศตองเผชิญกับความเสี่ยงในหลายมิติ โดยเฉพาะความเสี่ยงดาน
ความมั่นคงของประเทศ กองทัพภาคที่ ๒ เปนหนวยงานดานความมั่นคง โดยเฉพาะความรับผิดชอบ
ตอความมั่นคงตามแนวชายแดนที่มีความยาวถึง ๑,๕๗๖ กิโลเมตร กําลังปองกันชายแดนมีจํานวนไม
เพียงพอตอการดูแลพื้นที่ตลอดแนวชายแดน จึงวางกําลังเปนหยอมตานทานตามชองทาง และทาขาม
ที่เปนจุดเสี่ยง และลอแหลม และจัดตั้งจุดสกัดจุดตรวจ ไวในเสนทางที่สําคัญ สวนพื้นที่ตามแนว
ชายแดนที่เหลือตองอาศัยเครื่องกีดขวางตามธรรมชาติ คือลําน้ําโขง และเทือกเขาพนมดงรัก แตก็ยัง
มีชองทางและทาขามตามประเพณีและตามธรรมชาติที่หนวยยังไมมีกําลังพลเพียงพอที่จะจัดไปดูแล
พื้นที่ได ทําใหมีการลักลอบการทําผิดกฎหมายอยูเปนจํานวนมาก จึงมีความจําเปนที่ตองผนึกกําลัง
ประชาชนเขามารวมในการปฏิบัติทั้งทางตรง และทางออม โดยการปลูกฝงสรางจิตสํานึก เสริมสราง
หมูบานชุมชนใหเกิดความเขมแข็งดวยปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ใหหมูบานชุมชนสามารถพึ่งพา
และปองกันตนเองได โดยใชทุนของชุมชนที่มีอยูดั้งเดิม ทั้งทุนทางสังคม ทุนทางเศรษฐกิจ และทุน
ทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม นํามาประยุกตใชประโยชนแบบผสมกลมกลืน เพื่อปองกัน
ภัยคุกคามจากการกระทําผิดกฎหมาย และอธิปไตยตามแนวชายแดนไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป
การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) แบบวิจัย
เอกสาร (Documentary Research) ประกอบการสัมภาษณเชิงลึก (In - depth interview)
ผูทรงคุณวุฒิจํานวน ๖ ทาน โดยฝายทหารเก็บขอมูลจากหนวยทุกระดับในพื้นที่ภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ จํานวน ๕ ทาน ไดแก หนวยระดับกองทัพภาค หนวยระดับกองทัพนอย และ
หนวยระดับกองพล และฝายพลเรือน จํานวน ๑ นาย ไดแก สํานักงานสภาความมั่นคงแหงชาติ
และไดจัดการสนทนากลุม (Focus Group Discussion) โดยเชิญผูเขารวมในวงสนทนา ประกอบดวย
จากนายกองคการบริหารสวนตําบล ปราชญชาวบาน ผูนําชุมชน และประชาชนในหมูบานชุมชนข
ตามชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํานวน ๓๐ คน เพื่อใหไดความคิดเห็น ทัศนคติ ความรูสึก
การรับรู ความเชื่อ และพฤติกรรมของประชาชนในหมูบานชุมชนตามแนวชายแดนภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทั้งใชขอมูลทุติยภูมิ(Secondary data) คือ ขอมูลที่ไดจากเอกสารทาง
วิชาการ แนวคิดทฤษฎีจากผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ เมื่อทําการวิเคราะหขอมูลแลว จึงมาทําการ
สังเคราะหงานวิจัยดวยวิธีSecondary analysis อีกครั้งหนึ่ง เพื่อตอบปญหางานวิจัยใหม โดยใช
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนหลักในการเสริมสรางหมูบานชุมชน เพื่อกําหนดเปนแนวทางให
สามารถแกไขปญหาไดอยางเปนรูปธรรม
ผลจากการศึกษาวิจัยพบวา ทั้งหนวยงานราชการ และประชาชนโดยเฉพาะประชาชน
ตามแนวชายแดนมีความรูความเขาใจในบริบทชุมชนชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือวาเปนชุมชน
ชนบท มีทุนทางสังคมเกื้อกูลในการดํารงชีวิต แตดวยลักษณะภูมิประเทศ และภูมิอากาศไม
เอื้ออํานวยตอการเกษตรซึ่งเปนอาชีพหลักของประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จึงทําใหเกิด
ปญหาความยากจน การใชชีวิตยังไมมีการพัฒนาใชประโยชนจากจุดเดนของชุมชนมากนัก ประชาชน
คนหนุมสาวอพยพยายถิ่นฐานไปทํางานในเขตเมืองทําใหเกิดปญหาทางสังคมในชุมชน ในขณะที่มี
หนวยงานหลายหนวยงานไดเขาไปชวยเหลือในการพัฒนาชุมชนและจัดการฝกอบรมในเรื่องตางๆ
แลวในปจจุบันก็ยังไมสามารถแกไขปญหาได อีกทั้งการดําเนินการเสริมสรางความเข็มแข็งใหกับ
ชุมชนยังไมปลูกฝงหรือสรางความรูความเขาใจอยางถองแทในการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาประยุกตใชในการดําเนินชีวิต ดั้งนั้นการพัฒนาชุมชนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตองเริ่มจากการสรางกระบวนการเรียนรู เพื่อสรางความรู ความเขาใจที่ถูกตองเกี่ยวกับปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงใหกับสมาชิกของชุมชนและกระตุนเตือน พรอมทั้งพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหรูจัก
ความพอเพียง สําหรับการพัฒนาชุมชนใหยั่งยืนนั้น ตองมีการกระตุนและสนับสนุนเสริมสรางการมี
สวนรวมของสมาชิกในชุมชน โดยชุมชนตองพัฒนาความสามารถในการสรางองคความรูที่เอื้อตอการ
เปนประชาสังคม และการกําหนดทิศทางขางหนาของชุมชนนั้นตองอาศัยการสรางและการสะสมองค
ความรู เพื่อสามารถปรับใชและเปนพื้นฐานใหเกิดการเรียนรูเพิ่มขึ้นตอไป โดยใหมีการกําหนด
เปาหมายของชุมชนใหสามารถแกปญหาดวยตนเองได ชุมชนตองสรางกิจกรรมการพัฒนาตางๆ
ขึ้นมาจากการมีสวนรวมของสมาชิกในชุมชน อีกทั้งในการพัฒนาศักยภาพการจัดการชุมชนดวยวิธี
คิดเชิงระบบจําเปนที่จะตองพัฒนายกระดับความรู และทัศนคติของทุกฝายที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐ
ภาคทองถิ่น และภาคประชาชน ที่ตองพัฒนาเพื่อเสริมสรางสนับสนุนซึ่งกันและกัน เพื่อใหเกิดพลัง
ในการขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยกําหนดแนวทางการเสริม
หมูบานชุมชน แบงการดําเนินการตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปน ๒ ดานคือ ๑) ดานการ
คุณลักษณะการพัฒนาหมูบานชุมชน และ ๒) ดานการบูรณาการพัฒนาหมูบานชุมชน ที่จะตองทํา
อยางเปนระบบ ทุกๆ ดานไปพรอมๆกัน โดยอาศัยกลไกการขับเคลื่อนที่สําคัญ คือตองใหชุมชนเปน
ศูนยกลาง มีเครื่องมือบริหารหรือกลไกการบริหารอยางเปนรูปแบบและประสานสอดคลองซึ่งกันและ
กัน และกําหนดบทบาทภารกิจของแตละภาคสวนใหชัดเจน พรอมทั้งการติดตามความกาวหนาใน
การขับเคลื่อนกิจกรรมตางๆ และการประเมินผลความสําเร็จ จะตองดําเนินการอยางตอเนื่อง และมี
ตัวชี้วัดที่สะทอนถึงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความสุขและความเข็มแข็งของชุมชนเพื่อใหบรรลุ
วัตถุประสงคที่ตองคือ ทําใหหมูบานชุมชนมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
abstract:
ABSTRACT
Title Methods of Building Communities to be Secure and Sustainable
as Sufficiency Economy Philosophy by Second Army Area in
Border Area of Northeast of Thailand
Field Social Psychology
Name Colonal Kiattisak Wewek CourseNDC. Class 59
In northeast Thailand there are one-third of Thailand’s population and
area. The majority are farmers; however, the land is not very fertile, and there is
saline soil and sandy soil. When it rains, it is not able to reserve water. That cause
problems planting, and poverty. When there is poverty, most of people in the area
flee the region to work in big cities, and then social problems occur.
Due to bordering Laos and Cambodia, and as Thailand has joined ASEAN
Community since B.E. 2558, there are complicated and new types of harms. Thailand
is facing many risks especially security risk. The Second Army Area is responsible for
the frontier of 1,576 kilometers. However, there is lack of soldiers to observe the
area. There a cluster of soldiers inspecting at each checkpoint risky point, and also at
important route.
Nevertheless, the rest areas which has no soldiers for inspecting, natural
barriers are used instead such as Mekong river, and Phanom Dong Rak mountain. Still,
there are many traditional and natural paths and crossings where are hard for
authorities to inspect thoroughly. That is the reason that people are needed to
participate both directly and indirectly by cultivating consciousness, and making
communities stronger as following Sufficiency Economy in order to make the
communities able to rely on and protect themselves. The communities can spend
the capital which they have had before including social capital, economic capital and
resources and environment in applied and integrated methods to prevent
themselves from any harms with illegal wrongdoing and harms towards sovereignty.
This is a qualitative research with documentary research including in- depth interviews of six qualified persons. Military sector collected data from five
persons from every single units in the region of northeast Thailand: one from an
army area, another from a minor army, one from an army division, and the other
from civilian, from Office of the National Security Council. There is also discussing
group inviting Chief Executive of the SAO, community’s philosopher, community’s2
leaders and thirty people in the communities in frontier of northeast Thailand to
show opinions, visions, and discuss on people’s behaviors. Secondary data is also
used. The data are from academic documents and concerned researches. After
gaining the data, all the data were synthesized by secondary analysis to answer the
new research’s problem. Sufficiency Economy is used to improve the communities
and define the way of objective solutions.
The study revealed that both government sector and people especially
the people in the border have gained the knowledge and understanding the context
of the communities in the region of the border. They learned that they had got
capital to support themselves, but with the improper topography and climate not
supporting agriculture, there is poverty. The living in the region cannot be improved.
Young people have moved to work in the cities a lot.
Despite plenty of organizations providing the communities with assistance
and training, the problems are not solved yet. The consciousness cultivating is not
brought to the communities to deeply comprehend Sufficiency Economy philosophy
to utilize the idea in daily lives. Therefore, to develop the communities, it requires
the process of learning to gain knowledge and comprehension about Sufficiency
Economy correctly. As for sustainable development, the people in the communities
should receive support and motivation to participate.
The communities have to improve the ability to create knowledge
management supporting the civil society and to specify the direction of the
communities need the knowledge management to be applied and the basis to be
used further. The aim of the development is to make the community able to solve
problems by themselves. Activities should be created to let the people participate.
Moreover, to enhance the performance and knowledge levels in community
management, systematic thinking is essential. The visions concerned from every
sector should be compatible and supportive including the government sector, local
sector, and public sector to drive the communities following Sufficiency Economy
philosophy the best. There are two aspects of the process: 1. Characteristic of
development and 2. Integration of development. The both aspects must be
processed along together which make the communities as the center. There must be
devices and machineries ready to be used in the development. The roles of each
part must be defined accurately, and also follow up the progress of activities and
success continuously. It is necessary to have a measure to estimate happiness and
strength of the communities after following Sufficiency Economy to reach the aim
making the communities secure and sustainable.