Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การส่งเสริมและการพัฒนาช่างฝีมือในงานอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย กิตติพันธ์ พานสุวรรณ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง การสงเสริมและการพัฒนาชางฝมือในงานอนุรักษมรดกวัฒนธรรม ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย นายกิตติพันธ พานสุวรรณ หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙ วัฒนธรรมไทยเปนวิถีการดําเนินชีวิตและแบบแผนประพฤติปฏิบัติอันดีงามของคนใน สังคมไทยที่ไดรับการสืบทอดมาตั้งแตบรรพบุรุษเปนสิ่งที่แสดงออกถึงความเปนชาติไทยที่มีเอกลักษณ โดดเดนเปนเกียรติภูมิศักดิ์ศรีและความภาคภูมิใจของคนไทยทั้งชาติการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะโบราณสถานและอาคารที่มีคุณคาทางประวัติศาสตรใหคงอยูตอไปเพื่อดํารงไวซึ่งเอกลักษณ ความเปนชาติแลวยังเปนการรักษาทุนทางวัฒนธรรมในการสรางรายไดเขาประเทศผานการทองเที่ยว จึงเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่ง แตปจจุบันการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมดานสถาปตยกรรมมีแนวโนม ที่จะประสบปญหาการขาดแคลนแรงงานชางฝมือที่มีทักษะตามแบบแผนงานชางไทยในขณะที่จํานวน ของมรดกทางวัฒนธรรมดานสถาปตยกรรมที่ตองไดรับการอนุรักษมีจํานวนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง อีกทั้งแนวโนมการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากร ผลการวิจัยของสํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ พบวาประเทศไทยจะเขาสูงสังคมผูสูงอายุอยางสมบูรณ ในป พ.ศ.๒๕๘๓ อัตราการเพิ่มขึ้นของประชากรลดลงทําใหขาดประชากรวัยแรงงานในหลายภาคสวน จึงตองพึ่งแรงงานตางชาติเขามาเสริมแรงงานสวนที่ขาดไป แตการแกปญหาโดยการใชแรงงาน ตางชาติไมสามารถใชไดกับงานอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมเพราะงานทางดานนี้มีความตองการ บุคลากรที่มีความรู ความเขาใจในงานทางดานศิลปะและการชางแบบไทย ระบบการศึกษาและคานิยมที่มุงเนนผลิตบุคลากรระดับปริญญามากกวางาน ดานอาชีวศึกษาและการผลิตบุคลากรเพื่อตอบสนองภาคอุตสาหกรรมสงผลใหแรงงานฝมือที่มีทักษะ ดานชางฝมือลดลงโดยเฉพาะอยางยิ่งชางฝมือดานการอนุรักษงานสถาปตยกรรม จากการสํารวจ ชางฝมือดานการอนุรักษในปจจุบันพบวาชางฝมือที่เขาสูการทํางานดานการอนุรักษในสาขาตางๆ พบวาประมาณ สองในสามจะไดรับการฝกฝนทักษะงานฝมือจากหัวหนาชางในรุนกอนๆ หรือไดรับ การถายทอดจากครอบครัว และมีผูที่จบจากสถาบันการศึกษาระดับอาชีวศึกษาทํางานดานอนุรักษ ประมาณหนึ่งในสาม การพัฒนาและสงเสริมชางฝมือและบุคลากรในงานอนุรักษมรดกวัฒนธรรมนั้นไมจํากัด อยูเพียงเฉพาะชางฝมือเทานั้นแตจะตองครอบคลุมผูที่เกี่ยวของในการกําหนดนโยบายวางหลักการ และสถาบันการศึกษา การพัฒนาบุคลากรที่ทํางานดานนี้ทั้งดานคุณภาพฝมือทักษะใหเกิดความ เชี่ยวชาญเฉพาะดานและเกิดองคความรูในงานที่ทําอยางถองแทโดยชางฝมือสามารถเขาสู กระบวนการพัฒนาเพื่อเพิ่มทักษะและฝมือแรงงานไดทุกคน เปนการใหความสําคัญที่ความสามารถ มากกวาความรูตามระบบการศึกษา การสงเสริมชางฝมือโดยการสรางแรงจูงใจดวยผลตอบแทนและ สรางความภาคภูมิใจโดยการยกยองงานของชางฝมือเหลานั้นในลักษณะตาง ๆ จะทําใหบุคลากรที่อยู ในระบบงานอนุรักษมีแรงจูงใจที่จะทํางานตอดวยความรูสึกภาคภูมิใจและมีความมั่นคงในเรื่องรายได อีกทั้งยังเปนการดึงดูดใหคนรุนใหมหันมาสนใจงานดานการอนุรักษมากขึ้นข ในการกระบวนการพัฒนาและสงเสริมชางฝมือ ควรใชทั้งแนวทางการพัฒนา การสราง แรงจูงใจและการออกกฎเกณฑใหผูที่เกี่ยวของปฏิบัติตามและตองมีการดําเนินการอยางจริงจัง ตอเนื่องโดยหนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบโดยตรงและหนวยงานภาคีเครือขาย เพื่อใหการพัฒนา ประสบผลสําเร็จอยางยั่งยืนและสงผลใหชางฝมือผูผานการอบรมจะไดเขาไปมีสวนรวมในการ ดําเนินงานอนุรักษอยางมีศักดิ์ศรีและมีบทบาทนําในการกําหนดวิธีอนุรักษ เพื่อธํารงรักษามรดกทาง วัฒนธรรมดานงานสถาปตยกรรมเอกลักษของชาติและภูมิปญญาตางๆของงานชางไทยใหคงอยูสืบไป

abstract:

ABSTRACT Title : Promotion and Development of Artisans in Cultural Hevitage Preservation Field : Social - Psychology Name: Mr. Kittiphan Phansuwan Course NDC Class 59 Thai culture has been a major role of life for long time, pass on from generation to other generation. Which keep representing uniqueness and honor of nation. Preserving heritage culture especially historic architecture not only help in uniqueness of country but also increase benefit in tourism. Unfortunately, in the present time there is an issue of lacking skilled craftsman who specialize in Thai tradition. It is contrast with the demand of architectures that need to be repair. Moreover, according to research from Office of the National Economic and Social Development Board, in 2040 Thailand will fully become aged society. The amount of population will decrease which means the amount of labor also decrease. The following result is to hire international labor. However, it is not a solution for work in cultural industry like preserve and repair heritage because the special skills and deep understanding in Thai culture and tradition are required. Educational system and social value focusing on degrees more than vocational education which impact the amount of technician and skilled craftsman especially in cultural heritage. From researching present skilled craftsman, 2 out of 3 educated from their senior or family. Only 1 out of 3 graduated from vocational school. In order to develop and support skilled craftsman and specialized staff, part of it is related to policy and educational system. As well as the benefits, pride and value those attraction would help people willing to be skilled craftsman. The process of improvement and support to skilled craftsman should be cooperate from every sections that related. It would be more successful, if those skill craftsman who pass the seminar and test would be guarantee to be a part of honor works. Which all of these aim to preserve Thai tradition and cultural heritage.