เรื่อง: การส่งเสริมและการพัฒนาช่างฝีมือในงานอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย กิตติพันธ์ พานสุวรรณ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2559
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การสงเสริมและการพัฒนาชางฝมือในงานอนุรักษมรดกวัฒนธรรม
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย นายกิตติพันธ พานสุวรรณ หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๙
วัฒนธรรมไทยเปนวิถีการดําเนินชีวิตและแบบแผนประพฤติปฏิบัติอันดีงามของคนใน
สังคมไทยที่ไดรับการสืบทอดมาตั้งแตบรรพบุรุษเปนสิ่งที่แสดงออกถึงความเปนชาติไทยที่มีเอกลักษณ
โดดเดนเปนเกียรติภูมิศักดิ์ศรีและความภาคภูมิใจของคนไทยทั้งชาติการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรม
โดยเฉพาะโบราณสถานและอาคารที่มีคุณคาทางประวัติศาสตรใหคงอยูตอไปเพื่อดํารงไวซึ่งเอกลักษณ
ความเปนชาติแลวยังเปนการรักษาทุนทางวัฒนธรรมในการสรางรายไดเขาประเทศผานการทองเที่ยว
จึงเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่ง แตปจจุบันการอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมดานสถาปตยกรรมมีแนวโนม
ที่จะประสบปญหาการขาดแคลนแรงงานชางฝมือที่มีทักษะตามแบบแผนงานชางไทยในขณะที่จํานวน
ของมรดกทางวัฒนธรรมดานสถาปตยกรรมที่ตองไดรับการอนุรักษมีจํานวนเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง
อีกทั้งแนวโนมการเปลี่ยนแปลงโครงสรางประชากร ผลการวิจัยของสํานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ พบวาประเทศไทยจะเขาสูงสังคมผูสูงอายุอยางสมบูรณ
ในป พ.ศ.๒๕๘๓ อัตราการเพิ่มขึ้นของประชากรลดลงทําใหขาดประชากรวัยแรงงานในหลายภาคสวน
จึงตองพึ่งแรงงานตางชาติเขามาเสริมแรงงานสวนที่ขาดไป แตการแกปญหาโดยการใชแรงงาน
ตางชาติไมสามารถใชไดกับงานอนุรักษมรดกทางวัฒนธรรมเพราะงานทางดานนี้มีความตองการ
บุคลากรที่มีความรู ความเขาใจในงานทางดานศิลปะและการชางแบบไทย
ระบบการศึกษาและคานิยมที่มุงเนนผลิตบุคลากรระดับปริญญามากกวางาน
ดานอาชีวศึกษาและการผลิตบุคลากรเพื่อตอบสนองภาคอุตสาหกรรมสงผลใหแรงงานฝมือที่มีทักษะ
ดานชางฝมือลดลงโดยเฉพาะอยางยิ่งชางฝมือดานการอนุรักษงานสถาปตยกรรม จากการสํารวจ
ชางฝมือดานการอนุรักษในปจจุบันพบวาชางฝมือที่เขาสูการทํางานดานการอนุรักษในสาขาตางๆ
พบวาประมาณ สองในสามจะไดรับการฝกฝนทักษะงานฝมือจากหัวหนาชางในรุนกอนๆ หรือไดรับ
การถายทอดจากครอบครัว และมีผูที่จบจากสถาบันการศึกษาระดับอาชีวศึกษาทํางานดานอนุรักษ
ประมาณหนึ่งในสาม
การพัฒนาและสงเสริมชางฝมือและบุคลากรในงานอนุรักษมรดกวัฒนธรรมนั้นไมจํากัด
อยูเพียงเฉพาะชางฝมือเทานั้นแตจะตองครอบคลุมผูที่เกี่ยวของในการกําหนดนโยบายวางหลักการ
และสถาบันการศึกษา การพัฒนาบุคลากรที่ทํางานดานนี้ทั้งดานคุณภาพฝมือทักษะใหเกิดความ
เชี่ยวชาญเฉพาะดานและเกิดองคความรูในงานที่ทําอยางถองแทโดยชางฝมือสามารถเขาสู
กระบวนการพัฒนาเพื่อเพิ่มทักษะและฝมือแรงงานไดทุกคน เปนการใหความสําคัญที่ความสามารถ
มากกวาความรูตามระบบการศึกษา การสงเสริมชางฝมือโดยการสรางแรงจูงใจดวยผลตอบแทนและ
สรางความภาคภูมิใจโดยการยกยองงานของชางฝมือเหลานั้นในลักษณะตาง ๆ จะทําใหบุคลากรที่อยู
ในระบบงานอนุรักษมีแรงจูงใจที่จะทํางานตอดวยความรูสึกภาคภูมิใจและมีความมั่นคงในเรื่องรายได
อีกทั้งยังเปนการดึงดูดใหคนรุนใหมหันมาสนใจงานดานการอนุรักษมากขึ้นข
ในการกระบวนการพัฒนาและสงเสริมชางฝมือ ควรใชทั้งแนวทางการพัฒนา การสราง
แรงจูงใจและการออกกฎเกณฑใหผูที่เกี่ยวของปฏิบัติตามและตองมีการดําเนินการอยางจริงจัง
ตอเนื่องโดยหนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบโดยตรงและหนวยงานภาคีเครือขาย เพื่อใหการพัฒนา
ประสบผลสําเร็จอยางยั่งยืนและสงผลใหชางฝมือผูผานการอบรมจะไดเขาไปมีสวนรวมในการ
ดําเนินงานอนุรักษอยางมีศักดิ์ศรีและมีบทบาทนําในการกําหนดวิธีอนุรักษ เพื่อธํารงรักษามรดกทาง
วัฒนธรรมดานงานสถาปตยกรรมเอกลักษของชาติและภูมิปญญาตางๆของงานชางไทยใหคงอยูสืบไป
abstract:
ABSTRACT
Title : Promotion and Development of Artisans in Cultural Hevitage Preservation
Field : Social - Psychology
Name: Mr. Kittiphan Phansuwan Course NDC Class 59
Thai culture has been a major role of life for long time, pass on from
generation to other generation. Which keep representing uniqueness and honor of
nation. Preserving heritage culture especially historic architecture not only help in
uniqueness of country but also increase benefit in tourism.
Unfortunately, in the present time there is an issue of lacking skilled
craftsman who specialize in Thai tradition. It is contrast with the demand of
architectures that need to be repair. Moreover, according to research from Office of
the National Economic and Social Development Board, in 2040 Thailand will fully
become aged society. The amount of population will decrease which means the
amount of labor also decrease. The following result is to hire international labor.
However, it is not a solution for work in cultural industry like preserve and repair
heritage because the special skills and deep understanding in Thai culture and
tradition are required.
Educational system and social value focusing on degrees more than
vocational education which impact the amount of technician and skilled craftsman
especially in cultural heritage. From researching present skilled craftsman, 2 out of 3
educated from their senior or family. Only 1 out of 3 graduated from vocational
school.
In order to develop and support skilled craftsman and specialized staff,
part of it is related to policy and educational system. As well as the benefits, pride
and value those attraction would help people willing to be skilled craftsman.
The process of improvement and support to skilled craftsman should be
cooperate from every sections that related. It would be more successful, if those skill
craftsman who pass the seminar and test would be guarantee to be a part of honor
works. Which all of these aim to preserve Thai tradition and cultural heritage.