Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการขับเคลื่อนการจัดการสาธารณภัยอย่างบูรณาการและมีประสิทธิภาพของกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย กอบชัย บุญอรณะ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2559
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง : แนวทางการขับเคลื่อนการจัดการสาธารณภัยอยางบูรณาการและมีประสิทธิภาพ ของกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ลักษณะวิชา : สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย : นายกอบชัย บุญอรณะ หลักสูตร : วปอ. รุนที่ : 59 ประเทศไทยเผชิญกับสาธารณภัยตางๆ ตลอดมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ไมวาจะเปนภัยที่เกิด จากธรรมชาติและที่เกิดจากการกระทําของมนุษย สรางความเดือดรอนและสรางมูลคาความเสียหาย ทางเศรษฐกิจกวาหลายลานบาทตอป รัฐบาลไดเห็นความสําคัญของการรับมือในการปองกันและลดความ สูญเสียโดยใชกฎหมายและแผนเปนเครื่องมือและกลไกที่สําคัญในการจัดการตั้งแตกอนเกิด ขณะเกิด และหลัง เกิดสาธารณภัย กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัยในฐานะเปนหนวยงานกลางของรัฐในการดําเนินการเกี่ยวกับ การปองกันและบรรเทาสาธารณภัยของประเทศ ตามพระราชบัญญัติปองกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 จะตองแสวงหาแนวทางหรือกลวิธีในการดําเนินการที่มีประสิทธิภาพเพื่อใหบรรลุเปาหมายขางตน เปรียบเสมือน การแสวงหา MeansใหตอบสนองWays เพื่อบรรลุEnds นําไปสูแนวทางการขับเคลื่อนการ จัดการสาธารณภัยอยางบูรณาการและมีประสิทธิภาพ ตามแนวทางการศึกษายุทธศาสตรชาติ ของ วปอ. ผูวิจัยไดทําการศึกษาผานแนวคิด ทฤษฎี และเอกสารที่เกี่ยวของ รวมถึงศึกษาขอคิดเห็น ขอเสนอแนะจากหนวยงาน และบุคลากรของกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย เพื่อหาแนวทางขับเคลื่อนการ จัดการสาธารณภัยที่มีประสิทธิภาพใหบรรลุเปาหมาย คือ“ความมั่นคงปลอดภัยอยางยั่งยืน” โดยมี วัตถุประสงคการวิจัยเพื่อศึกษา วิเคราะห แนวคิด แนวทางและเสนอแนวทางในการจัดการสาธารณภัยรวมถึง ขอเสนอตอบทบาทภารกิจและหนาที่ของกรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัยในฐานะหนวยงานขับเคลื่อน ซึ่ง เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการนําขอมูลที่ไดมาจัดระบบและวิเคราะหแนวคิดแนวทางเพื่อใหไดผลสรุปเปน ขอเสนอแนวทางในรูปแบบการบรรยายเชิงพรรณนา ผลการศึกษาวิจัย พบขอเสนอที่สําคัญในการดําเนินการที่มีประสิทธิภาพ คือ 1. การเพิ่มศักยภาพการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย การชวยเหลือสงเคราะหและฟนฟูใหมี ประสิทธิภาพและมีมาตรฐานตามหลักสากล ดวยความรวดเร็ว ทั่วถึง และเปนธรรม ทรัพยากรในการจัดการสา ธารณภัย มีเพียงพอและมีความพรอมตอการปฏิบัติงาน 2. บูรณาการดานการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย ระหวางหนวยงานและเครือขาย ทุกภาค สวนทั้งในและตางประเทศใหมีความเปนเอกภาพ 3. สรางความเขมแข็งแกประชาชน เอกชน ชุมชน ทองถิ่น อาสาสมัคร และเครือขาย ใหมีความรู ตระหนัก มีวัฒนธรรมความปลอดภัย และมีสวนรวมในการจัดการความเสี่ยงจากสาธารณภัย ตามแนวทางประชารัฐ 4. พัฒนาองคกรและบุคลากรไปสูการเปนองคกรที่มีขีดสมรรถนะสูงและสามารถรองรับความ เปลี่ยนแปลงไดภายใตแนวคิด“องคกรมีขีดความสามารถ บุคลากรมีความเชี่ยวชาญและคุณภาพ ” โดยผูวิจัยมีขอเสนอแนะเพิ่มเติม คืออาจตองมีการศึกษาวิจัยอยางละเอียดเพื่อจัดทําเปน นโยบายและยุทธศาสตรการขับเคลื่อน นอกจากนี้ควรใหความสําคัญในการเสริมสรางศักยภาพเครือขายใหมี ภูมิคุมกันจากสาธารณภัยในทุกระดับ สงเสริมใหประชาชนและชุมชนในพื้นที่เสี่ยงภัยมีขีดความสามารถในการ เตรียมพรอมรับมือซึ่งจะเปนเครื่องมือสําคัญระดับฐานรากในการบริหารจัดการสาธารณภัยประเทศไทย ใหมีความปลอดภัยอยางยั่งยืน

abstract:

ABSTRACT Title : An integrated approach for effective disaster management of The Department of Disaster Prevention and Mitigation Field : Social - Psychology Name : Mr.Kobchai Boonyaorana Course : NDC. Class : 59 Thailand has experienced natural and man-made disaster events that have caused millions of economic damage per year. Therefore, the government is enforcing the implementation of pre-, during and post disaster risk management measures; including laws, plans and existing mechanisms, to prevent and reduce its impact. Department of Disaster Prevention and Mitigation (DDPM), as the national government entity for disaster risk management according to Disaster Prevention and Mitigation Act B.E. 2550, is obliged to establish approaches or measures that enable country to achieve its development goals. An integrated approach for effective disaster management then is the mean that will lead the country to the desired ends as guided in national strategies development framework of Thailand National Defence College. The researcher uses qualitative method to establish an effective disaster management approach that would allow us to fulfill country’s development goal, “Security, Safety and Sustainability”. Through exhaustive literature reviews together with feedback from officials of DDPM and concerned agencies, this study aims to investigate and propose an approach with suggestions of DDPM’s roles and responsibilities for a more effective disaster management. Key results of this study include; 1. Improving effectiveness and standardization of DDPM’s disaster risk management, provision of relief, and disaster recovery that should be performed in a timely, accessible and equitable manner. Disaster management resources should be sufficient and ready to be mobilized. 2. Integrating efforts of both national and international agencies and partners to ensure uniformity. 3. Strengthening people’s capabilities that include general public, private sector, communities, local actors, and other networks by raising their safety mind awareness and participation in disaster risk management activities according to the Government’s People-State Approach. 4. Enhancing competencies of DDPM and human resources to be able to adapt to the changing circumstances with the vision of “Competent organization and competent staff” However, it is necessary to continue studying this proposed approach in more detail so as to formulate a policy and strategy to implementing it. In addition, we should focus more on building capacities of stakeholders at all levels in disaster risk management and enhancing preparedness of people living in disaster risk prone communities because they are fundamental tools for country’s disaster resilience and sustainable development.