เรื่อง: แนวทางการแก้ไขปัญหาภัยพิบัติทางทะเลของกองทัพ ศึกษากรณีการขจัดมลพิษทางน้ำเนื่องจากน้ำมัน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลเรือตรี นพดล สุภากร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง แนวทางแก้ไขปัญหาภัยพิบัติทางทะเลของกองทัพ
ศึกษากรณี การขจัดมลพิษทางนํ(า เนื
องจากนํ(ามัน
ลักษณะวิชา การทหาร
ผ้วิจัย พลเรือตรี นพดล ส ู ุภากร หลักสูตร วปอ. ร่นที
๕๖ ุ
งานวิจัยนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาทฤษฎีว่าด้วยภัยพิบัติ หลักการในการแก้ไข
ปัญหาภัยพิบัติทางทะเล กรณีการขจัดมลพิษทางนํา เนืองจากนํามัน ตลอดจนวิเคราะห์กลไกภาครัฐ
บทบาทของหน่วยงานราชการและองค์กรต่างๆในประเทศไทย เพือเปรียบเทียบกบตั ่างประเทศ เพือ
นําเสนอแนวทางการแกไขปัญหาภัยพิบัติทางทะเลของกองทัพ กรณีการขจัดมลพิษทางน ้ า เนืองจาก ํ
นํามัน โดยเป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) แบบการวิจัยทางเอกสาร (Documentary)
ซึงผลการวิจัยพบวาการแก ่ ไขภัยพิบัติทางทะเล กรณีมลพิษทางนํ ้ "า เนืองจากนํ"ามัน ของประเทศไทย
นั"น แม้มีกฎหมาย ระเบียบและแผนป้ องกนฯ ทีเป็ นกลไกของรัฐไว้แล้วก ั ็ตาม แต่เมือเกิดภัยพิบัติ
ทางทะเล กรณีมลพิษทางนํ"า เนืองจากนํ"ามัน กลไกของรัฐกลับไม่มีความชัดเจน เนืองจากขาดการ
ทบทวนและความต่อเนืองในการดําเนินงาน ส่งผลให้ไม่มีหน่วยงานรับผิดชอบในสภาวการณ์
ฉุกเฉินอยางทันท ่ ่วงที นับว่าเป็ นความเปราะบางอันนําไปสู่ความเสียหายทีมีเพิมมากขึ"นจนเป็ นภัย
พิบัติทางทะเล และหากสังเกตจะพบว่าทรัพยากรต่างๆทีใช้ในกรณีเร่งด่วนนั"น ส่วนใหญ่จะเป็ น
ทรัพยากรของกองทัพ จึงได้วิเคราะห์เพือสรุปบทบาทและแนวทางการแก้ไขปัญหาภัยพิบัติทาง
ทะเลของกองทัพ กรณีการขจัดมลพิษทางนํา เนืองจากนํามัน โดยผลการวิจัยบ่งชีวากองทัพมีส ่ ่วน
ร่วมตามกระบวนการทีเรียกวา ่ “วงจรการจัดการสาธารณภัย” ทังการป้ องกน (Prevention) ั และการ
บรรเทาผลกระทบ (Mitigation) โดยกองทัพควรเสนอรัฐบาลเพือตรวจสอบ แก้ไขปรับปรุงหรือ
เพิมเติมข้อกฎหมายและระเบียบฯ ทีเกียวข้องให้ทันสมัยและมีประสิ ทธิภาพเพิมมากยิงขึน
การเตรียมพร้อม (Preparedness) กองทัพต้องจัดทําแผนรองรับภาวะฉุกเฉินและเตรียมการด้านต่างๆ
เพือรับสถานการณ์ฉุกเฉิน (Emergency Response) ตามขีดความสามารถทีได้มีการเตรียมพร้อมไว้
การฟืนฟูบูรณะ (Recovery) กองทัพต้องจัดการผสานความร่วมมือทุกภาคส่วนเพือภาพรวมของการ
ดําเนินการภายหลังจากภัยพิบัติผ่านพ้นไป รวมทั"ง ทบทวนและศึกษาประสบการณ์การจัดการภัย
พิบัติทีเกิดขึ"น นํามาปรับปรุงระบบการดําเนินงานของกองทัพเองและส่วนงานต่างๆ เพือการพัฒนา
(Development) ให้สามารถรองรับในการแก้ไขปัญหาภัยพิบัติทางทะเล กรณีมลพิษทางนํ"า
เนืองจากนํ"ามัน ทีอาจเกิดขึ"นในอนาคตได้อยางมีประสิทธิภาพ ่
abstract:
ABSTRACT
Title The Defense Guidelines on Maritime Disaster Management
: A Case Study on Oil Spill Incident
Field Military
Name RADM Noppadol Supakorn Course NDC Class 56
The objectives of this research are to study disastrous theories and practical
guidelines dealing with maritime disasters in terms of oil spill management, to analyze
the operating mechanisms utilized by the government and to examine roles and duties of the
relevant bureaucratic sections as well as those of other civilian organizations in Thailand.
Managerial information was taken to consideration, in comparison to that belonging to different
foreign countries. This research was conducted qualitatively via documentary evidence. It is found
that the process of water pollution management in case of oil spills in Thailand is ineffective and
still obscure though it has been manipulated by laws and regulations so far. It is because there is
a lack of continuation and revision. As a consequence, there is no particular unit taking
responsibilities for urgent situations. This is considered as vulnerability which could lead to
additional difficulties. Thus, there is a need to develop practical guidelines with a clear description
of various tasks. According to a study, it is seen that resources and equipment used to cope with
emergencies mainly belong to the military. The Defense inevitably takes part in a process of
public hazard management including prevention and mitigation so it should cooperatively work
with the government in the aspects of inspection and modernization so as to make rules and
regulations more effective and lawful. In view of preparedness, the military had better make
a plan, which could be developed from its actual capabilities, in order to effectively deal with any
critical cases. By considering recovery and reconstruction, there should be a strong cooperation
between the military and other units in order to gain equivalent restoration. Furthermore, when the
tasks are already done, the after action reviews gathered from opinions and recommendations
should be shared among several organizations and operators because those valuable experiences
bring knowledge and improvement and also provide the readiness and effectiveness on maritime
disaster management, especially in case of water pollution caused by oil spills.