เรื่อง: แนวทางการพูดคุยสันติภาพกับผู้ก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก เอกพันธ์ สุวรรณวิจิตร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรือง แนวทางการพูดคุยสันติภาพกับผู้ก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พ.อ. เอกพันธ์ สุวรรณวิจิตร หลักสูตร วปอ. รุ่นที๕๗
การศึกษาวิจัยนี มีวัตถุประสงค์คือ ) เพือศึกษาความคิดเห็นของประชาชน ทีมีต่อ
สถานการณ์ทีเกิดขึนในพืนทีและการพูดคุยสันติภาพกับกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ ) เพือเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนทีมีต่อการพูดคุยสันติภาพ ในจังหวัด
ชายแดนภาคใต้จําแนกตามสถานภาพ (เพศ อายุ การศึกษา ศาสนา อาชีพ และสถานะทางสังคม)
) เพือเสนอแนะกรอบแนวทางกําหนดท่าทีการพูดคุยสันติภาพกับผู้ก่อความไม่สงบในครังต่อๆไป
การศึกษานีเป็ นการวิจัยเชิงปริมาณโดยกลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการศึกษาครังนีได้แก่ประชาชนทุกสาขา
อาชีพ และศาสนา ใน จังหวัดชายแดนภาคใต้ คือ ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส และ อําเภอของ
จังหวัดสงขลาได้แก่ อําเภอเทพา, สะบ้าย้อย, นาทวี และ จะนะ ซึงเป็ นพืนทีทีได้รับผลกระทบจาก
เหตุการณ์ก่อความไม่สงบ จํานวน คน
ผลการศึกษาพบว่า
. ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความคิดเห็นว่าความไม่สงบในจังหวัดชายแดน
ภาคใต้มาจากเหตุผลสําคัญคือ ) รู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็ นธรรมจากการปฏิบัติของเจ้าหน้าทีรัฐ )
ต้องการต่อสู้เพืออุดมการณ์ศาสนาอิสลาม และ ) กลุ่มก่อความไม่สงบมีความต้องการแบ่งแยก
ดินแดน
. จากปัญหาเหตุการณ์ความไม่สงบทีเกิดขึนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประชาชนส่วน
ใหญ่ในจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความเห็นไม่มีความต้องการแบ่งแยกดินแดนเป็ นรัฐปัตตานี
. ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้เห็นด้วยและสนับสนุนรัฐบาลในการพูดคุย
สันติภาพกับกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบ
4. ประชาชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ทีมี เพศ อายุ การนับถือศาสนา การศึกษา อาชีพ
และสถานะทางสังคมทีแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อการพูดคุยสันติภาพไม่แตกต่างกัน ซึงเห็นด้วย
ต่อการพูดคุยสันติภาพต้องการให้สันติสุขให้กลับคืนมาสําหรับปัญหาและอุปสรรคทีสําคัญในการพูดคุยสันติภาพทีผ่านมา พบว่า มีความไม่
เป็ นเอกภาพของคณะทํางาน ไม่มีการกําหนดกรอบร่วมกันก่อนไปพูดคุย และ การชีแจงต่อ
สาธารณชนในพืนทีและนอกพืนทีทังในและต่างประเทศให้เข้าใจเหตุผลของการพูดคุยว่ามีขอบเขต
มากน้อยเพียงใดจึงทําให้การยอมรับบทบาทของรัฐไม่ดีเท่าทีควร
ข้อเสนอแนะ รัฐจะต้องสร้างความเป็ นธรรมให้เกิดขึนอย่างจริงจังและเป็ นรูปธรรม
สร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินแก่ประชาชนให้ได้ สานต่อการพูดคุยสันติภาพกับกลุ่มผู้
ก่อความไม่สงบให้ได้ข้อยุติสู่สันติภาพในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึงในการพูดคุยกับกลุ่มผู้ก่อ
ความไม่สงบในครังต่อๆไปควรทีจะจัดให้มีการประชุมร่วมของคณะผู้แทนถึงกรอบและแนว
ทางการพูดคุยก่อนและหลังการพูดคุยเพือให้เป็ นเอกภาพและเป็ นไปในทิศทางเดียวกัน ควรให้มี
การพูดคุยทังเป็ นทางการและทางลับควบคู่กันไป และควรสร้างความเข้าใจและขอความร่วมมือจาก
ประเทศอิสลามและ กลุ่มประเทศ OIC ให้ช่วยกดดันกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบให้เข้าสู่กระบวนการ
พูดคุยสันติภาพ
abstract:
ABSTRACT
Title Guidelines ofPeace Dialogue to the Insurgents in theSouthern BorderProvinces
Field Military
Name Col. Ekaphan Suwanvichit Course NDC Class 57
This study purpose: 1) To study opinions of people on the situation and dialogue
peace to insurgents in the Southern Border Provinces, 2) To compare the opinions of people who
have continued to dialogue peace in theSouthern BorderProvinces classify by status i.e. sex, age,
religion, occupation, and local position. and 3) To suggest a framework determined attitude to
dialogue peace to insurgent groups in times to come. This study is a quantitative research. The
sample were included people of all occupations and religions in 3 Southern Border Provinces i.e.
Yala, Pattani and Narathiwat and 4 districts of Songkhla Province i.e district Tepa, Saba Yoi, Na
Thawi and Chana which these areas affected by the agitators of 670 people.
The study found that:
1. The opinion of people was that the unrest in the South Border Provinces of the key
reasons: 1.) Did not received fair treatment from the practice by government officials. 2.) Want to
fight for the ideology and Islam. and 3.) Insurgent groups are separatists to freely.
2.From the unrest that occurred in theSouthern BorderProvinces. Most people in the
Southern BorderProvinces did not want to separate freePattaniState.
3. People in the Southern Border Provinces agree with and support the government to
peace dialogue to the insurgents.
4. People in the Southern Border Provinces which different status i.e. age, religion,
education, occupation and social status had the opinions on the peace dialogue are not different.
They agreed with to peace dialogue and want peace to return.2
For important problems and objections in peace dialogue were found that there were
not a unity of the working group, did not have frames together before to peace dialogue and
explaining to the public in the area to understand the reasons about talking to an extent much, the
role of the state was not good enough.
Suggestions: Government must create fairness to occur serious and tangible and
secure in lives and property of people. They were continuous peace dialogue to the insurgents.
They should be jointed meeting of the delegation for framework and guidelines of talking before
and after talking to the unity and the same way. In the same direction should be made available to
talk both official and secret concurrently. They should be enhanced the understanding and
cooperation of Islamic countries and OIC countries to help pressure on insurgent groups into the
peace dialogue process.