เรื่อง: แนวทางการกำหนดนโยบายของไทยต่อกรณีการสร้างความปรองดองในเมียนมา
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี เอกพงศ์ วงศ์พรหมเมฆ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการกําหนดนโยบายของไทยตอกรณีการสรางความปรองดองในเมียนมา
ลักษณะวิชา การเมือง
ผูวิจัย พลตรีเอกพงศ วงศพรหมเมฆ หลักสูตร วปอ.รุนที่57
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาวิเคราะหถึงประเด็นปญหากลุมชาติพันธุที่ยังคงดํารงอยู
รวมทั้งปจจัยตางๆ ที่ทําใหเมียนมายังตองเผชิญกับศึกภายในประเทศ เพื่อศึกษาและวิเคราะหกระบวนการ
สรางสันติภาพ (Peace Process) ในเมียนมาในประเด็นการเจรจาสรางความปรองดอง (Reconciliation)
ระหวางรัฐบาลเมียนมากับกลุมชาติพันธุ และเพื่อเปนแนวทางในการกําหนดนโยบายของไทยตอเมียนมา
เนนหวงเวลาศึกษานับตั้งแตเมียนมามีการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อป 2553 จนถึงปจจุบัน (2558) ผูวิจัยใชระเบียบวิธี
วิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยจากเอกสาร การสัมภาษณและวิเคราะหขอมูลดวยการวิเคราะหเนื้อหา
ผลการวิจัยพบวา เหตุแหงความขัดแยงภายในเมียนมา เพราะความหลากหลายของ
กลุมชาติพันธุในเมียนมาที่ตางก็ตองการแยกตัวเปนอิสระเพื่อปกครองตนเอง โดยใชกองกําลังติดอาวุธ
ขณะที่กองทัพใชกําลังทหารเขาปราบปรามอยางรุนแรง จึงเกิดความขัดแยงภายในที่เรื้อรังดําเนินมา
อยางยาวนานและไมมีแนวโนมวาจะจบลงเมื่อใด หลายฝายที่เกี่ยวของแมแตรัฐบาลเมียนมาเอง
มีความพยายามเพื่อสรางสันติภาพภายในประเทศ จึงดําเนินการไปสูการสรางความปรองดอง
ของชนในชาติผานกระบวนการ 3 ขั้นตอนคือ การเจรจาระดับทองถิ่นและสหภาพ การลงนามหยุดยิง
ทั่วประเทศ และการเจรจาทางการเมืองผานรัฐสภา ซึ่งปจจุบัน (พ.ศ.2558) อยูในขั้นการลงนามเจรจา
หยุดยิงทั่วประเทศ และมีแนวโนมวาการลงนามเพื่อบรรลุขอตกลงหยุดยิงที่วางแผนไวใหแลวเสร็จ
ภายในปลายป 2558 กอนที่เมียนมาจะมีการเลือกตั้งทั่วไปอาจลาชาออกไป อยางไรก็ตามในหวง
การเจรจาหยุดยิงตางฝายยังคงมีการละเมิดขอตกลงจนนําไปสูการปะทะสูรบถึงขั้นรุนแรงในบางพื้นที่
โดยเฉพาะบริเวณชายแดน ไดสงผลกระทบตอความสัมพันธและความมั่นคงในหลายดานตอไทย สําหรับ
แนวทางในการกําหนดกรอบนโยบายระหวางไทยและเมียนมาที่เหมาะสมในหวงเวลาคือ 1.ไทยควร
สนับสนุนหรืออํานวยความสะดวกกระบวนการสรางความปรองดองของเมียนมา 2.ไทยควรเปนผูโนม
นาวฝายตางๆ ที่ขัดแยงกันใหยอมรับกระบวนการสรางความปรองดองโดยผานกรอบการเจรจาที่มี
สหประชาชาติ อาเซียนหรือไทยเปนผูประสานงาน 3.ไทยควรแสดงทาทีที่ชัดเจนโดยประชาสัมพันธ และ
ยืนยันวานโยบายของไทยที่มีตอเพื่อนบานไมสนับสนุนกองกําลังกลุมใดๆ และเพิ่มความระมัดระวัง
บทบาทในความสัมพันธตอกลุมชาติพันธุของเมียนมาเพื่อขจัดความหวาดระแวงระหวางกัน 4.ไทยตอง
สรางจุดเดนในลักษณะของการสนับสนุนเมียนมาใหกาวไปสูมาตรฐานหรือทัดเทียมกับตางประเทศและ
ตองทําใหเมียนมารูสึกวาไทยเปนเพื่อนบานหรือหุนสวนที่เชื่อถือและพึ่งพาได 5.ไทยยังคงจําเปนตองข
ดํารงการปฏิบัติการดานการขาวตอเมียนมาในรอบดานแตในทางเปดไทยตองพยายามแสดงใหเห็นวาเรา
มุงเนนประโยชนรวมกัน 6.สนับสนุนใหเกิดความรวมมือทั้งภาครัฐและเอกชนโดยเฉพาะระดับเหลาทัพ
ของทั้งสองประเทศในดานตา งๆ เพิ่มมากขึ้นสําหรับปจจัยที่สงเสริมความสัมพันธคือความจําเปนที่ทั้งไทย
และเมียนมาตองพึ่งพาซึ่งกันและกันรวมทั้งการรวมกลุมกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคจึงจําเปนตองไดรับ
การสนับสนุนทั้งภายในและภายนอกประเทศทั้งดานเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม
abstract:
ABSTRACT
Title framework for planning Thailand’s policies towards reconciliation in Myanmar
Field Politic
Name Major General Ekapong Wongprommek , National Defence Course, Class 2015
This research aims mainly at analyzing ethnic problems existing in Myanmar. Focusing on
various factors assumed to be causes of ethnic disagreement, the study provides an analysis of peace
process in Myanmar, especially through reconciliation talks between Myanmar government and ethnic
groups. Results of the research can be utilized in planning Thailand’s policies towards Myanmar. Specific
time of the study started from Myanmar’s general election in 2010 until present (2015). Researcher has
applied qualitative methods which include documents study, interviews, and data analysis.
Results of the research indicate that conflicts in Myanmar arised from various ethnic groups
who all persue independency. These groups have deployed armed forces as a mean to achieve their
goals, while Myanmar government has also retaliated with military forces. Thus, such conflicts have
existed for a long time and still continue without possible ending. Concerned parties, including Myanmar
government, have been trying to establish a peace process in Myanmar through 3-steps reconciliation.
These steps comprise local-level and union talks, nationwide ceasefire agreement, and political talks in
the parliament. Presently (2015), Myanmar is now in the process of signing a nationwide ceasefire
agreement, which assumed to complete by the end of 2015; so that Myanmar will not have to
postpone the next general election. However, there has been violation of such agreement during the
signing process. This violation resulted in fights in many parts of the country, particularly boarder areas
between Myanmar and Thailand. Consequently, Thailand has then been significantly affected in terms of
bilateral relationship as well as national security. A suitable framework for planning Thailand’s policies
towards Myanmar consists of 6 aspects as follows: 1.Thailand should support or facilitate reconciliation
process in Myanmar 2.Thailand should persuade conflicted parties in Myanmar to accept reconciliation
process through talks, which include Thailand, Asean, or United Nations as moderators 3.Thailand should
express clear position, by using public relations, to insist Thailand’s policy towards neighboring countries:
Thailand do not support any armed-force against its neighbors. Thailand should also be more careful
when relating to Myanmar ethnic groups in order to avoid any misunderstanding 4.Thailand has to play
more outstanding role in encouraging Myanmar to step up to international standard by creating an
impression that Thailand is a reliable and accountable neighboring country 5.Thailand has to maintain intensive intelligence operation towards Myanmar. However, in public, Thailand should focuses on
mutual interests 6.Thailand should support more military cooperation between the two countries.
Finally, main factor which champions relationship between Thailand and Myanmar is that both nations
have to depend on each other. In order to associate with other countries in this region, it is necessary for
both countries to obtain support on economic, politic, and social aspects from inside as well as outside
the countries.