เรื่อง: ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในทศวรรษที่ 21 (ระหว่าง พ.ศ.2552 - 2561)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย อำนาจ วิชยานุวัติ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในศตวรรษที่ ๒๑ (ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑)
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร์
ผู้วิจัย นายอ านาจ วิชยานุวัติ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๕๗
งานวิจัยเรื่อง ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในศตวรรษที่ ๒๑ (ระหว่าง
พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑) มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการและ
การปฏิรูปการศึกษาขั้นพื้นฐานในศตวรรษที่ ๒๑ (ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑) ๒) เพื่อจัดท าร่าง
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในศตวรรษที่ ๒๑ (ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑) ฉบับที่ ๑
๓) เพื่อก าหนดยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในศตวรรษที่ ๒๑ (ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑)
กลุ่มเป้าหมาย มีวัตถุประสงค์ ๑) เพื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการบริหารจัดการและการปฏิรูป
การศึกษาขั้นพื้นฐานในศตวรรษที่ ๒๑ (ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑) ๒) เพื่อจัดท าร่างยุทธศาสตร์
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในศตวรรษที่ ๒๑ (ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑)ฉบับที่ ๑ ๓) เพื่อก าหนด
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในศตวรรษที่ ๒๑ (ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑)กลุ่มเป้าหมาย
ได้แก่ บุคลากร สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จ านวน ๔๐ คน ผู้ทรงคุณวุฒิ
จ านวน ๒๐ คน กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในการสนทนากลุ่ม จ านวน ๑๒ คน วิเคราะห์ข้อมูล โดยการหา
ค่าความถี่ร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานการสังเคราะห์เอกสารและการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการศึกษา พบว่า ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในศตวรรษที่ ๒๑
(ระหว่าง พ.ศ. ๒๕๕๒ - ๒๕๖๑) มี ๓ ยุทธศาสตร์ ดังนี้๑) ยุทธศาสตร์การปฏิรูปการเรียนการสอน
ประกอบด้วย ๕ กรอบแนวทาง ได้แก่ ปฏิรูปหลักสูตร ต ารา/หนังสือเรียน ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้
ปฏิรูปสื่อเทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อการศึกษา ปฏิรูปการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปฏิรูป
การนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน ๒) ยุทธศาสตร์การปฏิรูปการพัฒนาวิชาชีพ
ประกอบด้วย ๔ กรอบแนวทาง ได้แก่ ปฏิรูประบบการผลิตและการสรรหา ปฏิรูประบบการพัฒนาครู
ปฏิรูประบบค่าตอบแทนการปฏิบัติงานและเสริมสร้างขวัญและก าลังใจ ปฏิรูประบบความก้าวหน้า
ทางวิชาชีพ ๓) ยุทธศาสตร์การปฏิรูประบบการบริหารจัดการประกอบด้วย ๖ กรอบแนวทาง ได้แก่
ปฏิรูปวัฒนธรรมใหม่ของสถานศึกษา ปฏิรูประบบการวางแผน ปฏิรูประบบงบประมาณ ปฏิรูป
โครงสร้างอ านาจหน้าที่ ปฏิรูประบบการก ากับติดตามและประเมินผล ปฏิรูปโอกาสเข้าถึงบริการ
ศึกษาที่มีคุณภาพการศึกษา
abstract:
ABSTRACT
Title Strategic Management of Basic Education in the 21st
Century (between B.C.2552-2561)
Field Strategy
Name Mr. Amnat Wichayanuwat Course TNDC Class 57
This research about strategic management of basic education in the 21st
century (between B.C.2552-2561) The purposes of this research were to1) to study the
concept of governance and the reform of basic education in the 21stcentury (betweenB.C
.2552-2561) 2) to prepare a draft strategy for basic education in the 21st century (between
B.C.2552-2561) 3) to define the strategy of basic education in the 21st century (between
B.C. 2552-2561).The sample was the personnel department of basic education were 40
people, Expert20people, the group discussion 12 people, The data were analyzed by
frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis.
The research findings was the strategy of basic education in the 21st
century
(between B.C.2552-2561, there are three strategies. 1) Instructional reform strategies are
composed of 5 guidelines include : Curriculum reform, textbook / textbook. Learning
Process Reform. Technology Media Reform Education and innovation. Reform measure
and evaluate learning. Supervision reforms to improve the quality of teaching. 2) Reform
strategy consists of professional development 4 guidelines include : Restructuring
production and recruitment. Reform Teacher Development.Reform compensation
practices and strengthen morale. Restructuring professional advancement. 3) Reform
strategy management system consists of 6 guidelines include : New culture of education
reform.Restructuring Plan.Budget Reform.Structural reform Authority.Reform, monitoring
and evaluation. Reform opportunity to access quality education, education