Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การบริหารจัดการแมลงศัตรูพืชแบบผสมผสาน (IPM) ตามแนวทางการเกษตรอย่างยั่งยืน กรณีศึกษาพระตำหนักภูพิงคราชนิเวศน์

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย อำนาจ เดชะ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ เรือง การบริหารจัดการแมลงศัตรูพืชแบบผสมผสาน(IPM) ตามแนวทาง การเกษตรอย่างยังยืน กรณีศึกษาพระตําหนักภูพิงคราชนิเวศน์ ลักษณะวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้วิจัย นายอํานาจ เดชะ หลักสูตรวปอ.รุ่นที บทความวิจัยนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาถึงการบริหารจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน (Integrated Pest Management, IPM)ตามแนวทางการเกษตรทียังยืน กรณีศึกษาทีพระตําหนัก ภูพิงคราชนิเวศน์ โดยศึกษาถึงรูปแบบการพัฒนาวิธีการป้ องกันกําจัดแมลงศัตรูพืชแบบผสมผสาน ทีมุ่งเน้นวิธีการทีปลอดภัยและเป็ นมิตรต่อสิงแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิงวิธีการแบบชีววิธี (Biological Control) ทีใช้แมลงวันตัวหํา Tiger Fly ในการควบคุมป้ องกันกําจัดหนอนชอนใบและ แมลงศัตรูพืช เพือขยายผลเป็ นนวัตกรรมด้านการเกษตรของประเทศไทยต่อไป แมลงวันตัวหํา Tiger Fly (Coenosia exigua)ถูกพบครังแรกในประเทศไทยทีพระตําหนักภูพิงคราชนิเวศน์ การวิจัย ครังนีเป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ทีศึกษาสังเกตปรากฏการณ์ต่างทีเกิดขึน ตลอดจนระยะเวลาทีผ่านมา โดยการเก็บบันทึกในสภาพการทดลองและการสัมภาษณ์เกษตรกร หรือเจ้าหน้าทีผู้รักษาราชอุทยาน รวมทังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแล้วนํามาวิเคราะห์สรุปผล ซึงผลของ การศึกษาวิจัยทําให้ทราบว่าการบริหารจัดการแมลงศัตรูพืชแบบผสมผสานหรือIPM โดยเฉพาะ รูปแบบชีววิธีทีใช้แมลงวันตัวหํา Tiger Fly ในการควบคุมแมลงวันหนอนชอนใบและแมลงสัตรูพืช เป็ นวิธีการทีปลอดภัยและสามารถนํามาใช้ได้ผลจริง ถ้าปฏิบัติอย่างจริงจังและต่อเนือง โดยดูได้จาก ข้อมูลและตัวชีวัดต่างๆทีปรากฏ ดังนันรัฐบาลหรือหน่วยงานทีเกียวข้อง ควรให้ความสําคัญและเร่ง ผลักดัน ส่งเสริมให้มีการนําเอาไปใช้ในภาคการเกษตรอย่างจริงจัง ซึงจะส่งผลให้เกิดความมันคง มังคัง และยังยืนทังในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิงแวดล้อมของประเทศสืบต่อไป คําสําคัญ แมลงวันตัวหํา, วิธีการแบบชีววิธี, แมลงวันหนอนชอนใบ

abstract:

Abstract This research aims to study the Integrated Pest Management (IPM) following to the scheme of sustainable agriculture: A case study in Bhubing Palace, on details of the development patterns of integrated plant protection under the criteria of safety and friendly with environments. In addition, it studies deeply and particularly on the biological control by applying a lot of Tiger Flies as predators to control the growth of Leaf miner and pest insects in the gardens. It is clear that the Tiger Fly (Coenosia exigua) was first met in Thailand at the Bhubing l Palace in Chiengmai Province. The research is done under the process of qualitative approach by the tools of observation, making trial plots, recording, interviewing farmers and Bhubing Palace officers as well as other stake holders. The results show at significant statistical figure that when the farmers raise a lot of Tiger Flies and let them live in the gardens and orchards they can really control the growth of Leaf miner and pest insects in the gardens until the crop plants are safe from destroying. This method is also safety to environments human beings and animals. Therefore, if the government and organizations concerned play important roles to support and extend this method to be practiced by general farmers in every province, the farmers and Thai people would be safe, prosperity and stability in terms of economy, social and environments. Key word: Predators, Biologiced control , Leaf miner fly