เรื่อง: แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการลดอัตราป่วยและตายจากการบาดเจ็บจากความร้อนของพลทหารไทยที่เข้ารับการฝึกทหารใหม่
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก อลงกรณ์ เจริญพันธ์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพในการลดอัตราป่วยและตายจากการบาดเจ็บ
จาก ความร้อนของพลทหารไทยที่เข้ารับการฝึกทหารใหม่
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย พันเอกอลงกรณ์ เจริญพันธ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ 57
กองทัพบกไทยรับทหารกองประจ าการปีละ2ผลัด ผลัดที่1เริ่ม1พฤษภาคม ผลัดที่2เริ่ม1
พฤศจิกายน ฝึกหลักสูตรพลทหารใหม่10สัปดาห์ ชายไทยรุ่นใหม่ได้รับการศึกษาที่สูงขึ้น ท างานใน
ส านักงาน ไม่คุ้นเคยกับการออกก าลังกายหนัก มีโภชนาการเกิน ร่วมกับภาวะโลกร้อน ท าให้ไม่
สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพอากาศร้อน เกิดการป่วยของพลทหารใหม่เรียกว่า การบาดเจ็บจากความ
ร้อน(Heat injuries) ซึ่งมีระดับความรุนแรง7ระดับคือ 1.ผดผื่นคันจากความร้อน(Prickly Heat)
2.บวมแดด(Heat Edema) 3.ลมแดด(Heat Syncope) 4.ตะคริวแดด(Heat Cramps)
5.เกร็งแดด(Heat Tetany) 6.เพลียแดด(Heat Exhaustion) 7.โรคลมร้อน(Heat Stroke)
วัตถุประสงค์การวิจัย 1.ศึกษาสภาพทั่วไปของการฝึกทหารใหม่ 2. ศึกษาปัญหาที่ท าให้
เกิดการบาดเจ็บจากความร้อน 3. ศึกษาแนวทางการในการลดการบาดเจ็บจากความร้อน
4.เสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหา ขอบเขตของการวิจัย ท าการศึกษาจาก กลุ่มผู้ฝึก กลุ่มผู้ช่วย
ครูฝึก กลุ่มครูนายสิบ และกลุ่มครูทหารใหม่ ในเขตพื้นที่จังหวัดนครราชสีมา ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2557 -
2558 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผสมกับการวิจัยเชิงปริมาณ
(Quantitative Research) วิธีการรวบรวมข้อมูล ข้อมูลทุติยภูมิ ได้จากการค้นคว้าเอกสารทุก
ชนิด ข้อมูลปฐมภูมิ ได้จากการใช้แบบสอบถามชนิดปลายเปิด (Open Form) เก็บแบบสอบถาม
จากหน่วยฝึกทหารใหม่21 หน่วยฝึก จ านวน 172 ชุด ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตาม
สัดส่วน (Proportion Stratified Random Sampling) โดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple
Random Sampling) ได้แบบสอบถามกลับมา123 ชุด คิดเป็นร้อยละ 71.5 การวิเคราะห์ข้อมูลโดย
ใช้ค่าสถิติ ความถี่และค่าร้อยละ (Frequency and percentage) น าเสนอผลการวิจัยในเชิง
พรรณนา
ผลการวิจัย 1)สาเหตุการบาดเจ็บจากความร้อน เกิดจาก การเคยเสพยาเสพติด การมี
โรคประจ าตัว การดื่มสุราเป็นประจ า อากาศที่ร้อนจัด เวลาการฝึกมากเวลาพักน้อย ดื่มน้ าไม่
เพียงพอ ความเครียดของทหารใหม่ ขาดการเตรียมการให้ความช่วยเหลือเมื่อทหารใหม่
ป่วย ลักษณะการแต่งกาย กิจกรรมการฝึกทางทหาร การพักผ่อนไม่เพียงพอ เป็นโรคอ้วน
ไม่คุ้นเคยออกก าลังกายและอากาศร้อน 2)แนวทางการลดการบาดเจ็บจากความร้อน ได้แก่ การฝึก
และการออกก าลังกายให้เป็นจากเบาไปหาหนัก ฝึกในที่ร่มและดื่มน้ าบ่อยๆเมื่ออากาศร้อนมาก
ฝึกและพักให้ตรงตามเวลา มีหน่วยพยาบาลที่มีนายสิบพยาบาลควบคุม ให้ความรู้อาการการ
บาดเจ็บจากความร้อนแก่บุคลากรในหน่วยฝึกทุกนาย ครูฝึกหมั่นสังเกตทหารใหม่ทุกนาย คัดกรอง
และเฝ้าระวังทหารใหม่ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงเป็นกรณีพิเศษ มีการอบรมให้ความรู้แก่ทหารใหม่ให้สามารถข
สังเกตอาการของตัวเองรวมทั้งอาการของเพื่อนได้และต้องแจ้งให้ครูฝึกทราบ ปรับความหนักของ
การฝึกตามธงสีของแต่ละวัน การจัดชุดนิเทศตรวจและให้ค าแนะน าแก่หน่วยฝึก
ข้อเสนอแนะ 1)ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย การสอนครูฝึกควรจัดเป็นคอร์สและมีการทดสอบ
ควรมีนายสิบพยาบาลให้เพียงพอ ก าหนดให้การส่งข้อมูลออนไลน์เป็นมาตรฐาน ก าหนดนโยบายการ
ดื่มน้ าให้เพียงพอ การนิเทศโรคลมร้อนต้องมีนายทหารชั้นผู้ใหญ่ของหน่วยมาร่วมตรวจด้วย
กรมแพทย์ทหารบกต้องจัดหาและดูแลเครื่องช่วยฝึกด้านการแพทย์ที่มีมาตรฐาน ก าหนดนโยบาย
หลีกเลี่ยงการวิ่งตอนเย็น ให้ความส าคัญการสอนพลทหาร งดฝึกคนป่วยเด็ดขาด ให้ความรู้เรื่อง
การบาดเจ็บจากความร้อนแก่หน่วยแพทย์ของสาธารณสุขในพื้นที่,สถานศึกษาที่มีการออกก าลังกาย
หนัก,ผู้เข้ารับการฝึกหลักสูตรการทหารต่างๆ ผู้บังคับบัญชาสูงสุดของหน่วยในพื้นที่ต้องเป็น
ผู้รับผิดชอบเมื่อมีการการบาดเจ็บจากความร้อน ก าหนดนโยบายพลทหารต้องมีบัดดี้ การคัดเลือก
ทหารกองประจ าการควรท าอย่างเหมาะสมไม่รับคนที่มีโรคประจ าตัว จัดตั้งศูนย์โรคลมร้อนและมี
การประเมินผล 2)ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติการ ครูฝึกต้องใส่ใจในสุขภาพของทหารใหม่อย่างละเอียด
รอบคอบ ควรจัดตารางฝึกให้สอดคล้องกับภูมิอากาศ,ชุดฝึกและสภาพแวดล้อมของหน่วยฝึก
จัดให้มีการส่งต่อผู้ป่วยที่เป็นระบบและรวดเร็ว หน่วยแพทย์ควรให้ความรู้เรื่องการเจ็บป่วยจาก
ความร้อนที่ละเอียดถูกต้องแก่ครูฝึก การวัดอุณหภูมิกายและการชั่งน้ าหนักมีความส าคัญ ควรมีการ
คัดกรองและเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงเป็นกรณีพิเศษและมีแนวทางในการฝึกแตกต่างกัน โรงพยาบาลใน
พื้นที่ควรมีความพร้อมที่จะรับผู้ป่วยโรคลมร้อนตลอดช่วงการฝึกทหารใหม่ ควรด ารงการสื่อสารที่ดี
ระหว่างหน่วยฝึกทหารใหม่และโรงพยาบาลในพื้นที่ จัดกิจกรรมเพื่อความผ่อนคลายและลด
ความเครียดให้ทหารกองประจ าการ 3)ข้อเสนอแนะการวิจัยครั้งต่อไป วิจัยปริมาณน้ าดื่มที่
เพียงพอในทหารใหม่ วิจัยวิชาชีพผู้ที่ออกนิเทศลมร้อนมีผลอย่างไรต่อการให้ความรู้แก่ครูฝึกและพล
ทหาร วิจัยหาข้อมูลจากพลทหารเพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกในเรื่องระดับความร้อนที่พลทหารรู้สึกได้ที่ท า
ให้เกิดการบาดเจ็บจากความร้อนกับความสัมพันธ์กับสีธงที่บอกอุณหภูมิรายวัน ท าวิจัยร่วมกันทั้งสี่
เหล่าทัพและกระทรวงสาธารณสุข เพื่อเป็นข้อมูลของประเทศ วิจัยสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการ
ฝึกทหารใหม่ วิจัยแนวทางการปรับก าหนดการฝึกโดยการใช้ข้อมูลและความรู้ทางอุตุนิยมวิทยามา
เป็นพื้นฐานในการปรับกระบวนการฝึกและสร้างให้เป็นวัฒนธรรมการฝึกพลทหารของประเทศไทย
abstract:
ABSTRACT
Title Guidelines to increase effectiveness of reducing illness and death from heat injuries
in Thai military recruits attended military training.
Field Psycho-Social
Name Colonel Alongkorn Charoenpun Course NDC Class 57
Thai Army registered 2 shifts of military recruits per year. The first shift is on 1st of
Mayand second shift is on 1st of November which requires 10-week in training. The new
generations of Thai men have been highly educated and work in office environment with
lifestyle that tend to take less exercise, use less labor, and consume unhealthily. Those
factors, together with global warming issue, causing those men to be inadaptable to the
weather and lead to the new syndrome, so called “Heat Injuries” with 7 levels of severity: 1.
Prickly Heat 2. Heat Edema 3. Heat Syncope 4. Heat Cramps 5. Heat Tetany 6. Heat
Exhaustion 7. Heat Stroke
The Purposes of Research 1) To study the general condition of military training
and the cause of heat injuries 2) To study the issue of heat injuries 3) To study the solution
to reduce disease and death from heat injuries 4) To suggest the solutions, research scope,
and group study of trainers, assistant trainers, sergeants, new military trainers within
Nakhonratchasima province since 2014-2015. The study consists of Qualitative Research
together with Quantitative Research. The secondary information compiled from paper
research and the primary information will be the open form from questionnaires of sampling
groups. 172 sets of questionnaires are supplied to 21 military recruit division with Proportion
Stratified Random Sampling and Simple Random Sampling by drawing slots. After the
random sampling test, 123 questionnaires are returned or 71.5 % of the total sets.
The Result of Research 1) The causes of heat injuries are from drugusage, medical disease, regular alcohol consumption, overheated weather, over practice
with short breaks, dehydration, stress, lack of preparation to handle illness, apparel, activities
of training, lack of rest, overweight, unfamiliarity with exercise. 2) The solution to reduce
heat injuries are: Appropriate training and exercise from light to heavy. Training under the
shade and drinking water regularly in the hot weather. Training and take a break on time.
Medical unit with a medic in charge. Education on heat injuries for internal personnel. The
cooperation of trainers to observe the new recruits and give particular attention to the
vulnerable group. A seminar to educate how to observe the illness condition including for
themselves and others with prompt action to inform the trainers. Adjustment on the level of
training by the colour of flags each days. Operation of supervisors to check and suggest the
unit.2
Recommendation 1) Recommendation in term of policy. Training session should
be registered into proper course and test. The allocation should have enough medics.
Online data should be stored as a standard resource. The policy of proper water
consumption should be arranged. The supervision on heat injuries must have senior soldiers
to participate. Army Medical Department should organize and maintain the standard of
practicing tools. Specify the policy to avoid evening running session and prioritize to educate
the recruits. Training with patients should be refrained. Education on heat injuries must be
applied to the medical unit of local public health and schools with heavy training. The chief
of local unit should be responsible of heat injuries issue. The recruits should have a buddy.
The military selection should not select those with medical disease. Heat injuries and
evaluation center should be established. 2) Recommendation in term of action. Trainers
should pay attention to health condition of the new recruits. The schedule of trainers
should be synchronized with the weather, apparel, and environment of the camp. The
transmission of patients should be systematic with prompt action. Medical unit should
educate to the trainers in details about heat injuries. Measurement of body temperature and
weight is necessary. Intensive monitoring and caution of vulnerable group can be applied by
using different direction of training. Local hospital should be prepared to handle heat
injuries’ patients throughout the training of new recruits. Communication between the
recruit camp and local hospital should be maintained. Recreation activities can help to
reduce stress for soldiers in unit. 3) Recommendation for the future research. Research on
the appropriate amount of water consumption in the new military recruits. Research on the
supervisor and heat injuries effect to the trainers and military recruits. Research on data from
the recruits to obtain the deep information on the personal experience from heat injuries
and synchronization of flag’s colour of daily temperature. Co-research between 4 military
troops and Ministry of Health to compile the data resources for country. Research on
appropriate environment for the training of new recruits. Research on the adjustment for
training program by data and weather forecast as a standard for practicing and establishing
culture of military training in Thailand.