เรื่อง: บทบาทของแหล่งเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง อภิญาณ์ หทัยธรรม
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง ความสําคัญของแหลงเรียนรูดานวิทยาศาสตรกับการศึกษาและการพัฒนาประเทศ
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ผูวิจัย ดร.อภิญาณ หทัยธรรม หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๗
การวิจัยนี้เปนการศึกษาถึงบทบาทของแหลงเรียนรูดานวิทยาศาสตรที่มีตอการพัฒนา
การศึกษาและการพัฒนาประเทศ โดยศึกษานโยบายดานการศึกษาและการพัฒนาดานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยีของประเทศที่มีขีดความสามารถในการแขงขันดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ในภูมิภาคเอเชีย ๑ ประเทศ คือ สาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลีใต) และในภูมิภาคยุโรป ๑ ประเทศ คือ
สาธารณรัฐฟนแลนด เปรียบเทียบกับประเทศไทย และศึกษาการใชประโยชนแหลงเรียนรู ปจจัยที่มี
ผลตอการเลือกแหลงเรียนรู และทัศนคติของครูสอนวิทยาศาสตรที่มีตอนโยบายและการบริหารจัดการ
แหลงเรียนรูของรัฐ ผลการวิจัยแสดงใหเห็นถึงปจจัยความสําเร็จของการปฏิรูปการศึกษาของ
สาธารณรัฐเกาหลี และสาธารณรัฐฟนแลนด ที่เนนเรื่องความเสมอภาคและความเทาเทียมในการ
เขาถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ การใหความสําคัญกับคุณภาพของบุคลากรครู ตลอดจนการสงเสริมการ
เรียนรูดวยการปฏิบัติและการกําหนดหลักสูตรที่สอดคลองสัมพันธกับการนําไปใชประโยชนไดจริง
รวมถึงการพัฒนาแหลงเรียนรูนอกหองเรียนใหเปนสถานที่สําหรับการเรียนรูของทั้งเยาวชนและ
ประชาชนทั่วไป ทั้งยังไดเห็นการใชกลไกที่แตกตางกันอยางสิ้นเชิงของทั้งสองประเทศในการพัฒนา
ความสามารถของเยาวชน ซึ่งเปนประเด็นสําคัญที่ประเทศไทยตองศึกษาวิเคราะหปจจัยอื่นๆ รวมดวย
เพื่อใหสามารถเลือกใชกลไกที่เหมาะสมกับประเทศไทยตอไป ในสวนของการศึกษาการใชประโยชน
แหลงเรียนรูของครูไทย พบวาครูสวนใหญมีขอมูลเกี่ยวกับแหลงเรียนรูคอนขางจํากัด และปจจัยสําคัญ
ในการเลือกใชบริการแหลงเรียนรู คือประโยชนและความรูที่นักเรียนจะไดรับและความสอดคลองกับ
หลักสูตรการเรียนการสอน และมีปจจัยดานระยะทาง เวลา และคาใชจายเปนปจจัยสําคัญรองลงมา
โดยใหความสําคัญกับชื่อเสียงของแหลงเรียนรูเปนอันดับทาย แตตองการใหเกิดการบูรณาการใชแหลง
เรียนรูอยางเปนระบบ ผลการศึกษาโดยรวมสะทอนใหเห็นความจําเปนของประเทศไทยในการพัฒนา
และบูรณาการการใชแหลงเรียนรูทั้งที่มีอยูเดิมและที่กําลังจะสรางขึ้นตอไปในอนาคต โดยใชขอมูล
ความสําเร็จของสาธารณรัฐเกาหลี และสาธารณฟนแลนด มาประกอบการพิจารณา เพื่อสงเสริม
สนับสนุนการเรียนการสอนวิทยาศาสตร และเปนเครื่องมือในการสรางแรงบันดาลใจในการพัฒนา
นวัตกรรมใหมๆ เพื่อการพัฒนาชาติดวยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยางยั่งยืนตอไป
abstract:
ABSRTACT
Title The Importance of Learning Center in Education and Country
Development
Field Science and Technology
Name Mrs.Aphiya Hathayatham Course NDC Class 57
This study focuses on the roles of science and technology learning center and its
effectsonscienceeducation and the development of the country. It reviews education policy as
well as policy onscience and technology developmentof two selected countries,one from Asia,
The People’s Republic of Korea, and the other from Europe, The Republic of Finland, to be
compared with Thailand. Both are ranked among the highest competitiveness score in science
and technology. This study also works on the exploitation of learning centres and on factors
affecting how teachers select places to go for excursion. It also studies perception of science
teachers towards the government policy in the management of science learning centres. The
results from this study reveal the success factors of education reformin The People’s Republic of
Korea and the Republic of Finland. The equality and harmony areaccepted as the mainkeys to
their success. The quality of teachers and their development programs are their main concerns. They also give priority in the development of science and technologylearning centres around the
countries which are developed not only for students but also for every walk of life. However,
some mechanisms being used in the two countries are completely different. Many other factors
thereforeshould be analysed and put into consideration beforechoosing the one that fit best to
our context. Regarding the utilization of learning centre in Thailand, the majority of Thai teachers
have very limited information about science learning centre. The advantage students could gain
from eachlearning center and the association between the contents ineachlearning centre and
the school curriculum are the most important factors followed by the distance, time and cost
whereas the reputation of the place was ranked as the least importance. In conclusion, this
study indicates the necessity in the development of science learning centre and the integration
between the existing and the new ones in Thailand. The lessons learned from the People’s
Republic of Korea and the Republic of Finland should be used wisely in making the most use of
every science learning centre in order to promote science and technology education for the
sustainable development of the country.