เรื่อง: แนวทางการบริหารจัดการโคเนื้อของประเทศไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย อภัย สุทธิสังข์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรือง แนวทางการบริหารจัดการโคเนือของประเทศไทย
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผ้วิจัย นายอภัย ส ู ุทธิสังข์ หลักสูตร วปอ. ร่นที 57 ุ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาปัจจัยความสําเร็จและอุปสรรคของการบริ หาร
จัดการโคเนื'อทีผ่านมาของประเทศไทย วิเคราะห์สถานการณ์โคเนื'อในปัจจุบันและแนวโน้มใน
อนาคต เพือกาหนดแนวทางการบริหารจัดการโคเนื ํ 'อของประเทศไทยอยางยั ่ งยืน ขอบเขตของการ
วิจัยเน้นศึกษาโครงการส่งเสริมการเลี'ยงโคเนื'อของรัฐบาลและของกรมปศุสัตว์ วิธีดําเนินการวิจัย
เป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลทีได้จากข้อมูลทุติยภูมิของหน่วยงานและข้อมูล
ปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิทั'งจากภาคราชการ มหาวิทยาลัย ผู้ประกอบการ และ
เกษตรกร ด้วยวิธีการศึกษาย้อนหลัง การวิเคราะห์สถานการณ์โคเนื'อในปัจจุบัน การวิเคราะห์
ปัจจัยทีเกียวข้องกบการลดลงของปริมาณการเลี ั 'ยงโคเนื'อ และแนวโน้มสถานการณ์โคเนื'อใน
อนาคต จากข้อมูลข้างต้น ผู้วิจัยได้นําปัจจัยทีได้จากการถอดบทเรียนจากการส่งเสริมการเลี'ยงโค
เนื'อในอดีต ได้แก่ ปัจจัยด้านการตลาด ด้านความพร้อมของเกษตรกร และด้านตัวโค มาใช้กาหนด ํ
กรอบแนวทางการส่งเสริมการเลี'ยงโคเนื'อร่วมกบผลการวิเคราะห์ปัจจัยทีเก ั ียวข้องในเรืองราคาโค
เนื'อทีมีราคาสูงขึ'นอยางต ่ ่อเนืองในช่วง 5 ปี ทีผานมา ด้านต้นทุนการผลิตเรืองอาหารสัตว์ การลดลง ่
ของพื'นทีทุ่งหญ้าเลี'ยงสัตว์ การขาดแคลนแรงงานภาคเกษตรและค่าจ้างแรงงานทีเพิมสูงขึ'น โดย
ได้นําปัจจัยดังกล่าวมาสังเคราะห์สรุปเป็ นแนวทางบริหารจัดการโคเนื'อของประเทศไทยในอนาคต
อย่างยังยืน ภาครัฐจะต้องส ่งเสริมให้เกษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินทุนดอกเบี'ยตําหรือสนับสนุนการ
ชดเชยดอกเบี'ยเพือช่วยเหลือเกษตรกรในช่วงทีการเลี'ยงโคเนื'อยังไม่ให้ผลผลิต ส่งเสริมการปรับ
ระบบเลี'ยงเป็ นแบบ มีการจัดการด้านอาหารสัตว์ และใช้ประโยชน์จากมูลโคอยางมีประสิทธิภาพ ่
เพือแกไขปัญหาพื ้ 'นทีเลี'ยงสัตว์ทีลดลงและการขาดแคลนแรงงานภาคเกษตร ส่งเสริมการรวมกลุ่ม
ของเกษตรกรและเชือมโยงเครือข่าย เพือพัฒนาการเลี'ยงโคเนื'อให้เกิดความเชือมโยงตลอดห่วงโซ่
การผลิต และส่งเสริมการลดต้นทุนและเพิมประสิทธิภาพการผลิต โดยการใช้หลักวิชาการมาช่วย
ในการปรับปรุ งประสิทธิภาพการผลิตและพัฒนาสายพันธุ์ รวมถึงส่งเสริ มการบริหารจัดการ
ต้นทุนทางด้านโลจิสติกส์ของกลุ่มเกษตรกรและเครือข่าย นอกจากนี'ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะเกี
ยวกบั
การสนับสนุนเกษตรกรรายย่อยให้รวมตัวกนเป็ นกลุ ั ่มหรือสหกรณ์ การพัฒนาปรับปรุงพันธุ์โค
พื'นเมืองทีให้ผลผลิตสู งเหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศและสิงแวดล้อมของประเทศ การใช้ข
เทคโนโลยีชีวภาพเพือเพิมปริมาณผลผลิตโคเนื'อ การพัฒนาด้านอาหารสัตว์และพืชอาหารสัตว์
การแปรรูปผลิตภัณฑ์ การจัดตั'งศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศโคเนื'อ ศูนย์สาธิตต้นแบบการเลี'ยงโค
เนื'อครบวงจร นิคมสหกรณ์โคเนื'อ การรักษาวิถีชีวิตของการทําอาชีพการเกษตร การขยายตลาด
สินค้าโคเนื'อและผลิตภัณฑ์ในต่างประเทศ การกาหนดนโยบายผลักดันการส ํ ่งออกเนื'อโคแช่แข็ง
แทนการส่งออกโคมีชีวิต และการผลักดันให้การพัฒนาโคเนื'อเป็ นวาระแห่งชาติ รวมทั'งจัดตั'ง
กองทุนโคเนื'อ-กระบือและผลิตภัณฑ์ เพือแกไขปัญหาการขาดเงินทุนหมุนเวียนของเกษตรกร ้
abstract:
ABSTRACT
Title Guidelines for beef cattle management in Thailand
Field Economics
Name Dr. Apai Suttisunk Course NDC Class 57
The research aims to study the success factors and constraints of the past
management of beef cattle production in Thailand and to analyze the current situation
and future trends of beef. The results of this research would be used as guidelines for
improving better management of sustainable beef cattle production in Thailand. The
scope of this research project is to review the previous projects on beef cattle
production implemented by the government and the Department of Livestock
Development.
This research was a qualitative research which analyzed the primary data
from interviews of several experts from government agencies, universities, private
sectors and farmers. In addition, the secondary data from different sources and
organizations were collected and analyzed. With a retrospective study, this research
analyzed the current situation of beef cattle production, the factors associated with a
decreased number of beef cattle, and the future trends of beef cattle by using the abovementioned information.
Researcher has taken the lessons learned from the previously implemented
projects on beef cattle production and extension in the past. Several factors such as
marketing, readiness of farmers, and cattle were included in this study in order to define
the framework for the promotion of beef cattle production in Thailand. Additionally,
the researcher also analyzed other relevant factors such as the rising price of beef during
last 5 years, the cost of animal feed, the decrease of pasture lands, the farm labor
shortages and rising wages. All relevant factors were used to formulate the guidelines
for sustainable beef cattle management and practices in the future in Thailand. The
Government shall encourage and support farmers to get access to financial sources with
low interest or interest compensation scheme to help farmers while they do not have
any incomes at the early stage of beef cattle production. Farmers should learn and adapt
new knowledge and technology on feed and feeding management, effective utilization
of cow manure and waste management. To resolve shortages of grazing lands and
reduced farm labors, we have to promote the farmers’ group integration and to build up
a network among farmers’ groups. Subsequently, this will develop and extend a
production chain of beef cattle production throughout the country. This effort will result
in reduction of production costs and increase of productivity. We also need to introduce
technical knowledge and new technology to improve effectiveness of production, to improve cattle breed and to reduce management and logistics costs of farmers' groups
and their networks.
In addition, the researcher has recommended to support smallholder farmers
to form a farmers’ group or cooperative. We have to develop and improve native cattle
breed to have high production and high performance to tolerate with tropical climate
and environment of Thailand. The use of biotechnology is an important option to
increase a number of cattle. The development of fodder and forage for cattle production
is a key factor of success. Food processing of beef and the establishment of the
information center for beef cattle are essential. A demonstration center of integrated
beef cattle farming and a beef cattle special area (so-called “Nikom”) should be
established. Farmers’ livelihoods with agriculture and crop cultivation in rural areas
should be maintained. A policy on expanding markets of beef products to international
markets should be encouraged. We should export frozen beef to other countries instead
of live cattle. It is very important to support and develop the beef cattle production as a
national agenda which will help and support smallholder farmers throughout the
country. The establishment of trust fund for beef cattle development and production
will help farmers and remedy the lack of capital for farmers.