เรื่อง: การป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาคเอกชน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย อนุพร อรุณรัตน์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรืÉอง การป้
องกนัและปราบปรามการทุจริตภาคเอกชน
ลกัษณะวชิา การเมือง
ผ
ู้วจิัย นายอนุพร อรุณรัตน
์ หลกัสูตร วปอ. รุ่นท Éี ŝş
การศึกษาวิจยัฉบบั นÊี มีวตัถุประสงคเพื ์ Éอศึกษาปัญหาการทุจริตภาคเอกชนในประเทศ
ไทยและกฎหมายป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาคเอกชนของประเทศไทยเปรียบเทียบกบั
ต่างประเทศเพÉอืศึกษาแนวทางการแกไ้ขปัญหาการทุจริตภาคเอกชนของต่างประเทศเพืÉอนาํ มาเป็น
รูปแบบในการกําหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาการทุจริตภาคเอกชนของ
ประเทศไทย เพืÉอศึกษาความเป็ นไปได้ในการปฏิรูปกฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายประกอบ
รัฐธรรมนูญและปรับปรุงแก้ไขกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมให้มีมาตรการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตภาคเอกชนและตรวจสอบการทุจริตภาคเอกชนโดยการจดั ตÊงัองคก์รอิสระตาม
รัฐธรรมนูญ และเพืÉอศึกษาแนวคิดในการปรับปรุงโครงสร้างนโยบายและยุทธศาสตร์การป้องกนั
และปราบปรามการทุจริตภาคเอกชนในประเทศไทยเพืÉอให้สอดคลอ้งกบัอนุสัญญาสหประชาชาติ
วา่ ดว้ยการต่อตา้นการทุจริต ค.ศ. ŚŘŘśการศึกษาวิจยัฉบบั นÊีมุ่งทาํการศึกษาวิเคราะห์ถึงกฎหมายทีÉ
เกีÉยวกบัการทุจริตและประพฤติมิชอบ ผมู้ีหนา้ทÉีรับผดิชอบเกÉียวกบัการป้องกนัและปราบปรามการ
ทุจริต มาตรการทางกฎหมาย และการบงัคบั ใชก้ ฎหมายของบุคคลเหล่านÊนั เพืÉอทีÉจะนาํ มาใชก้ บัการ
กระทาํ ทุจริตในภาคเอกชน โดยทาํการศึกษามาตรการทางกฎหมายของต่างประเทศควบคู่กนั ไป
เพืÉอหามาตรการทีÉเหมาะสมทีÉจะนาํ มาใชใ้นการป้องกนัและปราบปรามการทุจริตในภาคเอกชนของ
ประเทศไทย การศึกษาวิจยัเป็นการศึกษาวิจยัเชิงเอกสาร (Documentary Research) โดยคน้ ควา้
รวบรวมข้อมูลจากเอกสาร เช่น ตาํรา หนังสือ วารสาร ตัวบทกฎหมาย บทความ รายงานการ
สัมมนาทางวิชาการ งานวิจยัทีÉเกีÉยวขอ้ง ทÊงัภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ และขอ้ มูลจากแหล่ง
ต่างๆ เช่น ความเห็นของนักนิติศาสตร์นักเศรษฐศาสตร์และนักบญั ชีโดยนาํขอ้ มูลมาวิเคราะห์
เปรี ยบเทียบเพืÉอหาข้อสรุปและประมวลเป็นข้อเสนอแนะต่อไป ซึÉงผลการวิจยัพบว่า ควรให้
คณะกรรมการป้องกนัและปราบปรามการทุจริตเขา้มามีบทบาทในการป้องกนัและปราบปรามการ
ทุจริตในภาคเอกชนดว้ยอีกส่วนหนÉึงเนืÉองจากคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีความรู้และความเชีÉยวชาญ
ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตโดยตรง และจากผลงานทÉีผ่านมาสามารถป้องกัน
และปราบปรามการทุจริตในภาคราชการและภาคการเมืองไดผ้ลเป็นทีÉน่าพอใจแนวคิดดงักล่าวจึง
น่าจะสามารถลดจาํนวนการทุจริตทÉีเกิดขÊึนในภาคเอกชนได้อีกส่วนหนÉึง
abstract:
ABSTRACT
Title Anti - Corruption Measures in the Private Sector
Field Politics
Name Mr. Anuporn Aroonrut Course NDC Class ŝş
This research aims to study the problem of corruption in the Thai private sector and
anti-corruption measures, comparing them to international standards in order to establish
guidelines and policies for the private sector; examine possible amendments to the Constitution,
organic laws, and judicial processes to improve anti-corruption measures in the private sector and
establish an independent organization under the Constitution to investigate the private sector
corruption; draw guidelines to make the Thai private sector anti-corruption measures consistent
with the United Nations Convention against Corruption 2003; analyze laws regarding corruption
and misconduct, the role of law officers, and law enforcement in the Thai private sector,
comparing them to international standard to apply appropriate measures to fit the Thai context.
This research is a documentary research collecting data from Thai and foreign sources, e.g.
textbooks, journals, articles, legislation, academic symposia reports, and opinions from jurists,
economists, and accountants, which were analyzed for further recommendation. The research
findings indicate that the National Anti-Corruption Commission (NACC) should play the major
role in taking anti-corruption measures in the private sector, as it has gained expertise in this
matter in the public sector already. Moreover, its past fight against corruption is proven to be
effective. Thus, it is recommended that the NACC expand its mission to cover the private sector
as well.