เรื่อง: งบประมาณการป้องกันประเทศของกระทรวงกลาโหมที่เหมาะสมกับสภาวการณ์ปัจจุบัน
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลโท อนุชิต อินทรทัต
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง งบประมาณการปองกันประเทศของกระทรวงกลาโหมที่เหมาะสมกับ
สภาวการณปจจุบัน
ลักษณะวิชา การทหาร
ผูวิจัย พล.ท.อนุชิต อินทรทัต หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๗
การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงคเพื่อหาแนวทางในการปฏิรูปกระบวนการกําหนด
นโยบาย และยุทธศาสตรการบริหารจัดการดานตางๆ ของกระทรวงกลาโหม ใหสามารถปฏิบัติภารกิจ
ตามที่กําหนดไวไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดภายใตขอจํากัดดานงบประมาณ เพื่อศึกษาและวิเคราะห
ขอมูลที่เกี่ยวของในการจัดทํางบประมาณของกระทรวงกลาโหม โดยวิเคราะหความเปนไปไดของ
กรอบวงเงินงบประมาณในการเสริมสรางขีดความสามารถของกองทัพในหวง ๑๐ ป ตั้งแต
ปงบประมาณ ๖๐ ถึงปงบประมาณ ๖๙ และเพื่อศึกษาแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการจัดทํา
และการจัดสรรงบประมาณของกลาโหม ในการสนับสนุนใหกองทัพดํารงไวซึ่งขีดความสามารถตามที่
กําหนดไวในยุทธศาสตร การปองกันประเทศกระทรวงกลาโหม การวิจัยครั้งนี้ ไดกําหนดกลุมตัว
อยางสําหรับการสัมภาษณจากผูทรงคุณวุฒินักวิชาการ ในเรื่องเกี่ยวกับงบประมาณการปองกัน
ประเทศของกระทรวงกลาโหม เครื่องมือที่ใชในการวิจัยประกอบดวยการวิจัยเชิงเอกสารโดย
การศึกษาและคนควาจากเอกสารทางวิชาการตําราตลอดจนผลงานวิจัย และแบบสัมภาษณที่มี
ลักษณะเปนการ สัมภาษณเจาะลึก
ผลการศึกษาพบวา ๑. กําลังพลในปจจุบันของกระทรวงกลาโหมมีจํานวนขาราชการ
บรรจุเปนจํานวนมาก ควรจะมีการปรับลดจํานวนกําลังพลลงรอยละ ๑๐ ในหวง ๑๐ ป ตั้งแต
ปงบประมาณ ๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ ๒.นโยบายการจัดหายุทโธปกรณโดยพิจารณาจากการจัดลําดับ
ความสําคัญตามความจําเปนในภาพของกระทรวงกลาโหมโดยไมคํานึงถึงสัดสวนงบประมาณของแต
ละสวนราชการ ๓. การจัดตั้งเปน “ศูนยการจัดหายุทโธปกรณกระทรวงกลาโหม” เพื่อทําหนาที่ในการ
บริหารจัดการความตองการยุทโธปกรณของกองทัพ ตลอดจนกระบวนการจัดซื้อจัดจางจนถึงการสง
มอบยุทโธปกรณใหกับกองทัพตามความตองการ และ ๔. โครงสรางการจัดสวนราชการภายใน
กระทรวงกลาโหมในปจจุบันยังมีความซ้ําซอนหลายหนวยงานยังทําหนาที่เหมือน หรือใกลเคียงกัน ทั้ง
ในระดับภายในสวนราชการเดียวกัน และระหวางสวนราชการ หากสามารถปรับลด ความซ้ําซอน
ดังกลาวลง ก็จะสามารถใชทรัพยากรของ กองทัพ ไดอยางมีประสิทธิภาพ
abstract:
Abstract
Title National defence budget of Office of the Permanent Secretary
for Defence which appropriate to the current situation
Field Military
Name Lt.Gen. Anuchit Indradat Course: NDC Class: 57
This qualification research has been conducted with the aim finding a
process of reformation policy and other administrative management strategy in order
for the Office of the Permanent Secretary for Defence to achieve its mission of
effectively following the budget limitation. Moreover, the purpose of this research is
to study the budget defence data by analyzing capabilities of the Armed Forces’
budget ceiling for a period of 10 years beginning with Fiscal Year 2016 and ending in
2025.The study seek ways to improve the budget preparation and budget allocation
processes in order for the Office of the Permanent Secretary for Defense to support
the mission and strategy of national defence for the Armed Forces. However, this
research has setup specific group interviews which are with a senior expert
practitioner from the national defense budget committee/team. This tool consists of
qualification research from textbook and interviews with detailed questions. There are four recommendations that are result from this research. First,
since 2016-2025 OPSD will see a huge increase in the number of troops applications. Therefore, OPSD should decrease troop numbers by about 10 percent. Second, OPSD
should consider supplying equipment from highest to lowest priority without budget
control. Third, OPSD should set up materiel supply centers for managing the entire
material requirements including procurement for the Armed Forces. Last of all, OPSD’s internal structure chart needs to be reviewed and reorganized. The chart isstill too complicated and almost all units have duplicate jobs which mean there are
redundancies in duties. Therefore, work duplication should be eliminated in order to
promote resource efficiency.