เรื่อง: มาตรการควบคุมสื่อสังคมออนไลน์ต่อความมั่นคงของชาติ : ศึกษาเฉพาะกรณีเฟสบุ๊ค (Facebook) และไลน์ (Line)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเทคโนโลยี/วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี/Science and Technology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย องอาจ ประภากมล
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง มาตรการควบคุมการใชสื่อสังคมออนไลนที่มีผลตอความมั่นคงของชาติ:
ศึกษาเฉพาะกรณีเฟสบุกและไลน
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ผูวิจัย นายองอาจ ประภากมล หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลกระทบของ Social Media ที่มีผลตอความ
มั่นคงของชาติและเสนอแนะแนวทางในการสรางจิตสํานึก วิจารณญาณ และสรางมาตรควบคุม
การใชสื่อสังคมออนไลนที่มีผลตอความมั่นคงของชาติ ศึกษาเฉพาะกรณีเฟสบุค (Facebook)
และไลน (Line)
วิธีการวิจัยเปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยเปนการศึกษาขอมูล
จากเอกสาร ใชวิธีการสัมภาษณแบบเจาะลึก (In - depth interview) ใหไดมุมมองของทรงคุณวุฒิ
ระดับผูบริหาร จํานวน 7 ทาน ถึงผลกระทบของ Social Media ที่มีตอความมั่นคงของชาติ เพื่อหา
แนวทางในการกําหนดมาตรการควบคุมการใชSocial Media ทั้งนี้ ในการศึกษาวิจัยไดแบงวิธี
การศึกษาออกเปน 2 แบบ ประกอบดวย การศึกษาขอมูลจากเอกสาร (Documentary Study และ
การศึกษาภาคสนาม (Field Study) โดยการเก็บขอมูลจากการสัมภาษณแบบเจาะลึก (In - depth
interview)
ผลการวิจัยพบวา การใชสื่อสังคมออนไลนในปจจุบัน เฉพาะกรณีการใชเฟสบุก
และไลน เปนเทคโนโลยีที่ทันสมัย สามารถสรางเครือขายทางสังคมขนาดใหญอยางไมจํากัดที่มี
ผลกระทบตอความมั่นคงของชาติในวงกวาง ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ จึงตองใชการกํากับทางดาน
ทฤษฎี กฎหมาย สังคม และพฤติกรรมของคน อันจะนําไปเปนแนวทางในการกําหนดมาตรการ
ควบคุม และการใชวิจารณญาณ โดยพิจารณาดําเนินการในประเด็นตาง ๆ ดังนี้
1.การใชกฎหมาย โดยใหอํานาจหนาที่แกหนวยงานและเจาหนาที่ที่เกี่ยวของ
2. การปองกันเชิงโครงสรางอํานาจหรือแกที่ระบบที่มีการควบคุมวิธีคิดของมนุษย
3. การกําหนดมาตรการ 5 ขอ ไดแก การรณรงคใหใชสื่อสังคมออนไลนอยางชาญฉลาด
สงเสริมการใชในเชิงบวก ปองกันการใชที่เปนไปในเชิงลบ และกําหนดบทลงโทษผูกระทําผิด
ติดตาม และปราบปรามอยางจริงจัง
4. การสรางภูมิคุมกัน ไดแก ความรู การตระหนัก จิตสํานึก และวิจารณญาณ เมื่อ
ปจเจกบุคคลมีภูมิคุมกัน สังคม และประเทศชาติก็จะมีภูมิคุมกันเชนกัน
abstract:
ABSTRACT
Title An analysis of the effects ofSocial Media on National Security :
Case Study, Facebook and Line
Field Science and Technology
Name Mr. Ongard Prapakamol Course NDC Class 57
The objectives of this research are to study the potential effects of Social media
on issues of National Security and propose a guideline for common sense usage and
considerations that users should employ when using social media; and also to explore a set of
control measures for using social media with regard to national security as per this case study of
the usage ofFacebook and Line.
This is a Qualitative Research, comprised of a variety of documents and In - depth interviews, as well as canvassing the viewpoints of 7 executive experts in the field of Social
Media and its effect on national security in order to pinpoint solutions, control measures and
guidelines. Therefore, there are two methods of study: A document study and a field study in
order to gather data from in-depth interviews.
The research indicates that social media, which is a new and fast-evolving modern
technology, has an almost unlimited ability to facilitate the spread of information between users.
Facebook and Line, in particular, play a huge part in this social networking fabric and are thus
able to exert both positive and negative effects on National Security. Therefore, any proposed
measures must be guided by sound theories, law, societal norms, acceptable human behavior and
should consider the followings issues:
1.Providing authorization to organizations and related officers in accordance with
the law. 2. Creating a clear policy to provide information and education to the whole
population in order to close the social and education gap. To help prevent the population from
disseminating misleading information by overzealous use of social media.
3.Specify five measures which should be employed to launch a typical social
media campaign smartly/effectively. 4. Build a self-immunity which is knowledge, recognition, conscience and
common sense. Perhaps consider : Create user self-awareness based on knowledge, recognition,
conscience and common sense.