เรื่อง: มาตรการทางภาษีที่มีผลต่อประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ของกรมสรรพากร
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สุรศักดิ์ รักษ์สุจิตรัตน์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง มาตรการทางภาษีที
มีผลต่อประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ของกรมสรรพากร
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผ้วิจัย นาย ส ู ุรศักดิ+ รักษ์สุจิตรัตน์ หลักสูตร วปอ. ร่นที
๕๗ ุ
การวิจัยครังนีมีวัตถุประสงค์ เพือศึกษาวิเคราะห์ประสิทธิภาพมาตรการการจัดเก็บภาษีรายได้
และเสนอแนวทางการเพิมประสิทธิภาพมาตรการการจัดเก็บภาษีรายได้ ขอบเขตการวิจัยเฉพาะการจัดเก็บ
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ภงด.๙๐,๙๑) ตังแต่ปี พ.ศ.๒๕๔๗ – ๒๕๕๗ เป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการ
ศึกษาวิจัยข้อมูลด้านเอกสาร จาก พรบ., พรก. และกฎกระทรวงทีเกี
ยวกบภาษีเงินได้ บทความทางวิชาการ ั
ผลการสัมมนา งานวิจัยทีเกียวข้อง นํามาประมวลและวิเคราะห์เพือหาคําตอบตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาถือเป็ นภาษีทางตรง ทีจัดเก็บตามความสามารถของผู้เสียภาษี โดย
ถือเอารายได้เป็ นเครืองวัดความสามารถของบุคคลในการเสียภาษี ดังนันการจัดเก็บภาษีจึงต้องวางหลักเกณฑ์
โดยคํานึงถึงขนาดของครอบครัว รวมตลอดจนค่าใช้จ่ายต่างๆ ในการจัดหารายได้ กฎหมายจึงอนุญาตให้มี
การหักค่าใช้จ่ายและค่าลดหยอน รวมถึงการยกเว้นภาษี เพือเป็ นธรรมของผู้เสียภาษีเงิ ่ นได้นันเอง
ผลการวิจัยพบวา มาตรการทางภาษีโดยการลดหย ่ อนและการยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ่
มีลักษณะทีผู้มีรายได้น้อยอุดหนุนผู้มีรายได้สูง และมีส่วนให้ผู้มีรายได้สูงใช้เป็ นช่องทางในการหลีกเลียง
ภาษีอยางถูกต้องตามกฎหมายซึงขัดก ่ บหลักความเป็ นธรรมและความสามารถในการเสียภาษี อีกทั ั งยังขัดกบั
หลักการของค่าลดหยอนทีประสงค์ให้มีการหักค ่ ่าลดหยอนเพือเป็ นการบรรเทาภาระภาษีตามสถานภาพของ ่
ผู้เสียภาษีทีจะสะท้อนให้เห็นถึงความสามารถในการเสียภาษีของแต่ละบุคคล และการลดหย่อนภาษีซึ งมี
ลักษณะเอือต่อผู้มีรายได้สูงยอมเป็ นการตัดโอกาสเข้าถึงทรัพยากรส ่ ่วนรวมของผู้มีรายได้น้อยทีจะได้รับจาก
การทีรัฐนําเงินรายได้ภาษีมาใช้จ่ายช่วยเหลือผู้ทีด้อยกวาในสังคม และมีส ่ ่วนในการซําเติมความเหลือมลําใน
การกระจายรายได้อีกด้วย จึงควรมีการทบทวนรายการค่าลดหยอนต ่ ่างๆ ให้เหมาะสม และจะอนุญาตให้หัก
ค่าลดหยอนควรมีหลักการทีแน ่ ่นอน เพือป้ องกนไม ั ่ให้ระบบภาษีเอือประโยชน์ต่อกลุ่มผู้มีรายได้สูงจนเกิน
สมควร งานศึกษานีจึงเสนอให้ปรับปรุงการลดหย่อนภาษีให้เหมาะสมแก่ผู้มีรายได้น้อย และยกเลิกการ
ยกเว้นภาษีหรือการลดหย่อนทีเอือประโยชน์เฉพาะผู้ทีมีฐานะการเงินดี ให้ยกเลิกค่าลดหยอนในส ่ ่วนของ
กองทุนหุ้นระยะยาว (LTF) เนืองจากในปัจจุบันตลาดหลักทรัพย์ได้พัฒนามากพอสมควรแล้ว อีกทัง LTF
ไม่ใช่ค่าลดหยอนภาษีทีเป็ นสากล เพราะในภูมิภาคนี ่ มีประเทศไทยเพียงประเทศเดียวทีใช้ค่าลดหยอนภาษี ่
ส่งเสริมตลาดทุน ส่วนค่าลดหย่อนอืนๆ ควรจํากดวงเงินหรือก ั าหนดเพดานการใช้สิทธิค ํ ่าลดหย่อน โดย
จํากดวงเงินใช้สิทธิหักค ั ่าลดหยอนภาษีทุกประเภทแบบเหมารวมก ่ น และปรับปรุงการจัดเก ั ็บรายได้
abstract:
Abstract
Title : The taxation measures and the efficiency of Revenue Department’s income tax collection
Field : Economics
Name : Mr.Surasak Rugsujitrat Course : NDC Class 57
The purposes of the research are to analyze and propose the way to increase the efficiency of
income taxation measures. The scope of research focuses only on the individual income taxation ( Por Ngor Dor
90,91) between the year 2004 – 2014. The paper uses qualitative approach conducting through studying and
analyzing relevant documents, Acts, Decrees and Ministry’s regulations concerning income tax, academic articles,
seminar papers as well as involved researches, and all having been processed and analyzed in order to answer the
specified research questions.
The individual income tax is treated as direct tax collecting proportionately to the income of
taxpayers by using income as index to evaluate the individuals’ ability to pay taxes. So the taxation must follow
regulations, considering family size as well as their incurred expenses. Laws have been written to allow the
indulgency and tax exemption for taxpayers’ reasonableness.
The research finds that the taxation measures through indulgency and exemption of individual
income tax have made the low-income earners support those with high-income ones, and unintentionally making
the latter having the way to avoid paying tax lawfully. These have gone against the rules of fairness and taxpaying
ability as well as crossing the principles of taxpaying exemption, which intents to alleviate taxpaying burdens of
those individual payers. In addition, the tax exemption for those high income earners has reduced the opportunity
of those low income ones to obtain the state assistances and creating the unfair income distribution within the
society. Hence, the study recommends that the relevant exemption lists should be reviewed to properly adjust them
and lead towards the right principles in order to correct and prevent the taxation system being advantageous for
those with high-income. In addition, the taxation exemption should be changed to assist those with low-income
and abolished the exemption and indulgency for only those with high-income, particularly involving indulgency
of long term mutual fund (LTF). The reason is that the Stock Exchanges of Thailand has been currently much
developed, and the LTF now is not the standard exemption because within this region only Thailand utilizes the
taxation exemption supporting the capital market. Other indulgencies like finance amount should be limited and its
ceiling being fixed through improving the taxation measures.