Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาความร่วมมือด้านการแพทย์ทหารเกี่ยวกับภัยพิบัติในภูมิภาค

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก สุรศักดิ์ ถนัดศีลธรรม
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการพฒั นาความร่วมมือดา ้ นการแพทยท ์ หารเกี่ยวกบั ภยัพิบตัิในภูมิภาค ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั พ.อ. สุรศักดิ์ ถนัดศีลธรรม หลักสูตรวปอ.รุ่นที่ ๕๗ ในห้วงเวลา ๑๐ ปีที่ผ่านมา มีการเกิดภยัพิบตัิทางธรรมชาติที่ร้ายแรงในพ้ืนที่เอเซีย ตะวันตกเฉียงใต้หลายๆ คร้ังอาทิเช่น แผน่ ดินไหวและเกิดมหาภยัพิบตัิสึนามิพายไุ ซโคลนนาร์กีส พายุใต้ฝุ่ นไห่เยี่ยน น ามาซึ่งความเสียหายทางทรัพย์สินและชีวิต ประเทศในภูมิภาคอาเซียนได้ส่ง ความช่วยเหลือซ่ึงกันและกันท้ังด้านกา ลงัคนและเงินช่วยเหลือ แต่การช่วยเหลือยงัมีปัญหา ความไม่เข้าใจกัน การขาดการประสานงานของผู้ช่วยเหลือท าให้ความช่วยเหลือต่อประเทศที่ได้รับ ผลกระทบจากภัยพิบัติได้ประโยชน์ไม่เต็มที่ ประเทศต่างๆในอาเซียนเริ่มประชุมกัน เพื่อวาง แผนการป้ องกัน ช่วยเหลือซึ่งกันและกันอย่างมีรูปแบบอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก้อตามเมื่อมีภัยพิบัติ เกิดข้ึน ยงัคงมีปัญหาบางอย่างที่ยงัไม่ไดร้ับการแกไ้ข ผูว้ิจัยซ่ึงเป็นแพทยท์ หารมีความต้องการ ทราบถึงปัญหาต่างๆที่เกิดข้ึน เป็นผลให้การช่วยเหลือกันน้ันท าได้ไม่เต็มที่ จึงมีความคิด ท าการศึกษา แนวทางการพัฒนาความร่วมมือด้านการแพทย์ทหารเกี่ยวกับภัยพิบัติ เป็ นการวิจัย เชิงคุณภาพโดยการรวบรวมความรู้จากการค้นคว้าทบทวนวรรณกรรม และสัมภาษณ์ผู้มี ประสบการณ์เกี่ยวกับการช่วยเหลือ ในวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ เป็ นวันที่ประเทศสมาชิกอาเซียนจะรวมตัวเป็นประชาคม อาเซียน หรือ ASEAN Community การเตรียมความพร้อมด้านการช่วยเหลือ การประสานงานต่างๆ ในอาเซียนจึงมีความส าคัญ และจ าเป็ นเพื่อให้การปรับตัวและการเข้าสู่กระบวนการต่างๆที่เกี่ยวข้อง เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และมีปัญหาอุปสรรคน้อยที่สุด รวมถึงการช่วยเหลือกันในด้านภัยพิบัติด้วย ผลการศึกษา พบว่าข้อบัญญัติด้านการช่วยเหลือของแต่ละประเทศในประชาคม อาเซียนเกี่ยวกับภัยพิบัติน้ันยงัไม่ชัดเจน ท้งัของประเทศที่ประสบภัยพิบัติและประเทศที่เข้าไป ช่วยเหลือ รวมถึงวิธีปฏิบัติกลางของประชาคมอาเซียน จ าเป็ นต้องมีการประชุมเพื่อก าหนดแนว ทางการช่วยเหลือเป็นส่วนกลาง เพื่อใหท้ ุกประเทศมีความเขา้ใจท้งัการขอความช่วยเหลือและการ ให้ความช่วยเหลือ ต้องมีการจัดการฝึ กร่วมด้านภัยพิบัติของประชาคมอาเซียนเพื่อให้บุคคลากรของ แต่ละประเทศมีความคุ้นเคยซึ่งกันและกัน ความเข้าใจกันในการปฏิบัติการช่วยเหลืออย่างมีระบบ

abstract:

Abstract Title : Military Medicine Collaboration Development Guideline for Regional Disaster Field : Psychological Society Name : Colonel Surasak Tanudsintum Course NDC Class57 During the past 10 years there have been many serious natural disasters in Southeast Asia region such as earthquakes and tsunamis cyclones Nargis and typhoon Haiyan caused damages to both properties and lives the Asian countries then supported each other by manpower and funding. There were still a lot of problems such as miscommunication, lack of cooperation of helpers that resulted in inefficient benefit to the effected countries. Many Asian countries arranged meetings to make prevention plans to support each other with continuous formats. However when there was a situation there were some unsolved problems. As the autor is a military doctor who wants to identify problems that give rise to inefficient assistances. The aims are to determine military medical collaboration development guidelines for disaster relieve in terms of qualitative research by collecting information from literature reviews and interviews of people with disaster-assistance experience. All Asian countries will join together to be Asian economic community on 31st December 2015. It is necessarily important to prepare for assistance and coordination that will lead to most highly efficient process with least obstacle. Disaster assistance is also an issue. From the study, it has been found that regulations for disaster from each country are not clear either the effected countries or the helping ones. This includes the common guidelines for assistance. To make it clear for both sides it is necessary to set up guideline meetings for all countries as well as arranging joint exercise for disaster relieve for Asian economic community so that personnel from all countries will be familiar with each other and understand systematic assistance procedure.