เรื่อง: กระบวนการสันติภาพของเมียนมาร์กับการแก้ปัญหาชายแดนไทย - เมียนมาร์
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลโท สุพจน์ ธำมรงค์รัตน์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง กระบวนการสันติภาพของเมียนมากับการแกปญหาชายแดนไทย – เมียนมา
ลักษณะวิชา การเมือง
ผูวิจัย พลโท สุพจน ธํามรงครัตน หลกัสูตร วปอ. รุนที่ ๕๗
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความเปนมาและปญหาชนกลุมนอยในเมียนมา
ศึกษาแนวทางการแกปญหาชนกลุมนอยของรัฐบาลเมียนมา และแนวโนมของความสําเร็จของ
กระบวนการสันติภาพในเมียนมาศึกษานโยบายดานความมั่นคงชายแดนของไทยตอประเทศเพื่อน
บาน (เฉพาะดานเมียนมา)และเสนอแนวทางการแกปญหาชายแดนไทย – เมียนมา ตามนโยบายดาน
ความมั่นคงชายแดนของไทยตอประเทศเพื่อนบาน (เฉพาะดานเมียนมา)
ผลการวิจัยพบวา แมรัฐบาลเมียนมาจะไดใชความพยายามในการผลักดันการเจรจาให
เปนไปตามแผนการสันติภาพที่วางไวก็ตาม แตในความเปนจริงยังคงมีรายละเอียดและขั้นตอนการ
ดําเนินการอีกมาก ทําใหแนวโนมของความสําเร็จของกระบวนการเจรจาสันติภาพของเมียนมา ยังมิ
อาจคาดการณวาจะสําเร็จไดโดยรวดเร็ว ในขณะเดียวกันสิ่งทาทายตามแนวชายแดนไทย – เมียนมา
มีแนวโนมของความละเอียดออนและสลับซับซอนเพิ่มมากยิ่งขึ้น โดยมีปจจัยที่สงผลกระทบตอ
กระบวนการเจรจาเพื่อสันติภาพของเมียนมาไดแก ความไวเนื้อเชื่อใจ การมีหลักประกันที่จะปฏิบัติ
ตามขอตกลงโดยเครงครัด การจัดสรรผลประโยชนที่ลงตัว ความรูสึกที่จะไมถูกกลืนชาติของชนกลุม
นอย การสนับสนุนจากตางประเทศ องคกรระหวางประเทศตางๆ และการมีเสถียรภาพทางการเมือง
ของรัฐบาล นอกจากนี้การที่ไทยไดใหการสนับสนุนอยางไมเปนทางการในการประชุมเจรจาระหวาง
ฝายรัฐบาลเมียนมาและชนกลุมนอยที่ผานมา อาจถูกมองวาเขาไปแทรกแซงในกระบวนการสันติภาพ
ของเมียนมาได
สําหรับขอเสนอแนะของการวิจัยในครั้งนี้จึงควรพิจารณานําปจจัยที่จะกอใหเกิด
ผลกระทบตอกระบวนการเจรจาเพื่อสันติภาพของเมียนมามาวิเคราะหเพื่อกําหนดแนวทางการให
ความชวยเหลือหรือสนับสนุนสงเสริมกระบวนการสันติภาพของเมียนมาใหเปนไปอยางเปดเผยและ
เปนรูปธรรม รวมทั้งควรกําหนด บทบาท ทาทีของไทยใหมีความชัดเจน เหมาะสม และสอดคลองกับ
สถานการณภายในของเมียนมาที่ไดพัฒนาไป โดยเฉพาะการเขารวมเปนผูสังเกตการณการเจรจา
สันติภาพอยางเปนทางการ และการกาวสูการมีประชาธิปไตยที่สมบูรณของเมียนมาที่กําลังจะมีขึ้น
ตอไป และควรทําใหการขอรับการสนับสนุนใดๆ ตอกระบวนการสันติภาพของเมียนมาเปนการรองขอ
โดยเปดเผยอยางเปนทางการ เพื่อหลีกเลี่ยงการถูกมองวาไทยเขาไปแทรกแซงในกระบวนการ
สันติภาพของเมียนมาตอไป นอกจากนี้ควรเตรียมความพรอมในทุกมิติอยางเหมาะสม เพื่อเผชิญกับก
สิ่งทาทายตามแนวชายแดนไทย – เมียนมา ที่มีแนวโนมของความละเอียดออนและสลับซับซอนเพิ่ม
มากยิ่งขึ้น อันเนื่องมาจากผลกระทบของกระบวนการเจรจาเพื่อสันติภาพของเมียนมา ที่ยังคงมีอยู
สําหรับการวิจัยครั้งตอไปควรติดตามพัฒนาการกระบวนการสันติภาพระหวางรัฐบาล
เมียนมากับชนกลุมนอย และความคืบหนาของการแกปญหาชายแดนไทย-เมียนมา หลังกระบวนการ
สันติภาพระหวางรัฐบาลเมียนมากับชนกลุมนอยมีผลเปนรูปธรรม
abstract:
Abstract
Title Myanmar’s Peace Process and Thailand – Myanmar Border Resolution
Field Politics
Name Lieutenant General SupoteThummarongrat Course NDC Class 57
This research was to study background and ethnic issues in Myanmar, a guideline of
ethnic issues’ resolution of the Myanmar Government and trend of success of Myanmar’s peace
process, as well asa security policy of Thailand towards neighbouring countries (Myanmar) and
recommendations of the Thailand – Myanmar border resolution in accordance with the said security
policy.
The research finding found that even though the Myanmar government would made an
effort to push negotiation move forward in accordance with the specified plan of peace building, it
was the fact that there were a lot of further details and implementation procedures which made the
trend of negotiation peace process hard to expect its success soon. At the same time, the challenging
issues in the Thailand – Myanmar border area may be more sensitive and complex due to factors
affecting Myanmar’s peace negotiation process, such as confidence, assurance of strict complying
with an agreement, mutual interest procurement, ethnic minority groups’ feelings of unoccupied
autonomy and identity, various kinds of support provided by international countries and
organizations, as well as the government’s political stability. In the past, informal support of
Thailand for negotiations between the Myanmar government and ethnic groups might be seen as
intervention in the peace process of Myanmar.
The research recommended that factors affecting peace negotiation process of Myanmar
should be taken into consideration for analysis to determine guidelines of providing support and
promotion in peace process of Myanmar openly and practically. In addition, it should include
determining Thailand’s role and position clearly, appropriately and responsively to Myanmar’s
internal situation in progress, especially, being involved as formal observers of peace negotiation to
further move forward into full democracy as well as requesting and providing any supports for
Myanmar’s peace process openly and officially between the two governments in order to prevent the
accusation of intervention in the peace process. Furthermore, it should prepare in all aspects
appropriately to face challenges in the Thailand - Myanmar border, which may be more sensitive and
complex due to the trend of Myanmar’s peace negotiation process being continued without decrease. The further research would be follow-up of the peace process development between
Myanmar and ethnic minority groups and the progress of Thailand – Myanmar border resolution
aftermath their practical peace process.