เรื่อง: การดำเนินการกับทรัพย์สินตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน กรณีศึกษาความผิดมูลฐานยาเสพติด
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันตำรวจโท สุนัย หาเรือนพืชน์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การดําเนินการกับทรัพยสินตามกฎหมายวาดวยการปองกันและปราบปราม
การฟอกเงิน : กรณีศึกษาความผิดมูลฐานยาเสพติด
ลักษณะวิชา การเมือง
ผูวิจัย พันตํารวจโทสุนัย หาเรือนพืชน หลักสูตร วปอ. รุนที่ 57
การวิจัยฉบับนี้เปนการศึกษาวาเหตุใดการประสานงานในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ
ปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 ระหวางหนวยงานบังคับใชกฎหมาย กับสํานักงานงาน
ปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน (สํานักงาน ปปปง.) จึงยังไมมากเทาที่ควร ซึ่งที่ผานมา
แมจะมีการจับกุมและปราบปรามผูกระทําความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พรอมของกลางยาเสพติดตลอดจน
ทรัพยสินจํานวนมาก แตก็ยังมีการกระทําความผิดเพิ่มจํานวนขึ้นอยางตอเนื่อง ปจจัยสําคัญที่เปน
แรงจูงใจใหมีการกระทําความผิด คือ เงินหรือทรัพยสินจํานวนมากที่ไดมาจากการจําหนายยาเสพติด
โดยผลประโยชนดังกลาวถูกนํากลับมาใชเปนทุนในการกระทําความผิดครั้งตอๆ ไป ตลอดจนการสราง
อิทธิพลและเครือขาย จนกลายเปนอาชญากรรมขามชาติ นอกจากนั้นผูกระทําความผิดยังนําเงินและ
ทรัพยสินไปเปลี่ยนแปลงสภาพและเก็บรักษาไวกับบุคคลในครอบครัวหรือบุคคลใกลชิด เพื่อหลบเลี่ยง
การดําเนินการยึดหรืออายัดของเจาหนาที่ แมวาจะมีพระราชบัญญัติมาตรการในการปราบปรามผูกระทํา
ความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด พ.ศ. 2534 ที่สามารถยึดหรืออายัดทรัพยสินที่เกี่ยวกับการกระทําความผิด
ไดก็ตาม แตตองขึ้นอยูกับผลคดีอาญาและตองดําเนินการตามกําหนดระยะเวลา สวนการยึดหรืออายัด
ทรัพยสินตามพระราชบัญญัติปองกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 นั้น มีลักษณะพิเศษ
เนื่องจากไมตองรอผลคําพิพากษาในคดีอาญาหลัก ก็สามารถยื่นคํารองขอใหทรัพยสินตก
เปนของแผนดินได แตจากการศึกษาขอมูลพบวาหนวยงานบังคับใชกฎหมายตางๆ มีประสานความ
รวมมือกับ สํานักงาน ปปง. จํานวนนอยมาก เมื่อเปรียบเทียบกับการจับกุมดําเนินคดีกับผูกระทํา
ความผิด จากการศึกษาขอมูลพบวามีสาเหตุสําคัญมาจากเจาหนาที่ตํารวจและพนักงานสอบสวน
ขาดความรู ความเขาใจในเนื้อหาของกฎหมาย , สํานักงาน ปปง. ไมมีการจายเงินสินบนและรางวัล
กับเจาหนาที่ผูปฏิบัติและผูแจงเบาะแส ตลอดจนปญหาจากโครงสรางของ สํานักงาน ปปง.
และเจาหนาที่สํานักงาน ปปง. ขาดความรูความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงาน
กรณีดังกลาว จึงมีขอเสนอแนะใหสํานักงาน ปปง. ตองสรางความรู ความเขาใจในเนื้อหา
ของกฎหมายและระเบียบตางๆ , ดําเนินการเผยแพรระเบียบคณะกรรมการปองกันและปราบปราม
การฟอกเงินวาดวยหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขการจายเงินกองทุนการปองกันและปราบปราม
การฟอกเงิน พ.ศ. 2557 และดําเนินการใหเกิดรูปธรรม , จัดหลักสูตรการฝกอบรมที่มีประสิทธิภาพให
เจาหนาที่ผูปฏิบัติอยางตอเนื่อง ตลอดจนปรับปรุงโครงสราง สํานักงาน ปปง. ใหสอดคลองกับภารกิจ
abstract:
Abstract
Subject : Asset Proceeding under the law on Anti-Money Laundering :
A study on Drugs as predicate crime.
Field : Politics
Researcher : Pol. Lt. Col. Sunai Haruanpuach NDC's curriculum. Class 57.
This research is to study obstacles in coordination on under The AntiMoney Laundering Act 1999 between law enforcement agencies and The Anti-Money
Laundering Office (AMLO).
Despite the high number of arrests, including exhibits and proceeds,
number of drug cases is increasing continuously. Money and assets are not only
motivation but also funding for next criminal activities and also establishment of
network power. Criminals transfer or convert proceeds and keep in family members
or close associates’ custody to avoid detection by officers. The Act on measures for
the suppression of offenders in an offence relating to narcotics 1991 has the power
to freeze or seize assets connected with the offence but is limited by criminal
conviction and prescription. While asset forfeiture under the Anti-Money Laundering
Act 1999is non-conviction based. However, past statistics show low number of
coordination with AMLO, comparing to number of arrests and criminal proceedings.
The study reveals the reasons as lack of knowledge and understanding of
the laws, termination of reward for officers and informants, together with AMLO’s
structure and the lack of expertise in performing its duty. It is recommended that
AMLO shall raise awareness and understanding of the Anti-Money Laundering Board
Regulation on Rules Procedures and conditions in the use of AML fund B.E. 2557
(2014) by regularly organizing effective training courses for officers and re-organize the
AMLO structure in line with its duty.