Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ศูนย์ฝึกปฏิบัติการพิเศษทางทหารประจำภูมิภาค

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก สุนัย ประภูชะเนย์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรือง ศูนย์ฝึ กปฏิบัติการพิเศษทางทหารประจําภูมิภาค ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พล.ต.สุนัย ประภูชะเนย์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที๕๗ สําหรับประเทศไทยนัน มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเพือนบ้านหลายประเทศ ภัยคุกคามมี โอกาสเกิดได้ทังภัยคุกคามแบบดังเดิม และภัยคุกคามรูปแบบใหม่ จึงมีความจําเป็ นทีไทยจะมีการเตรียม กําลังเพือนําไปสู่การใช้กําลังอย่างรอบคอบและได้ประโยชน์สูงสุด หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ เป็ นทัง หน่วยเตรียมกําลังและใช้กําลังมีหน่วยขึนตรงทังหน่วยทีเตรียมไว้เพือแผนป้ องกันประเทศและหน่วยด้าน สายวิทยาการ วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพือศึกษาและวิเคราะห์นโยบายด้านการต่างประเทศของ กระทรวงกลาโหมและ ความพร้อมของหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษในการจัดตังศูนย์ฝึ กปฏิบัติการพิเศษ ทางทหารประจําภูมิภาค ทังนีจะทําการศึกษาบทบาทของกระทรวงกลาโหม ในกรอบของประชาสังคม การเมืองและความมันคงอาเซียน วิเคราะห์การดําเนินงานของหน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ เน้นความพร้อม ในการจัดตังศูนย์ฝึ กปฏิบัติการพิเศษทางทหารประจําภูมิภาคจึงได้ทําการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษา เอกสารทีเกียวกับการดําเนินงานของประชาคมอาเซียน นโยบายของหน่วยเหนือ หลักนิยมของหน่วยรบพิเศษ เอกสารวิจัยทีเกียวข้อง บทบาทของกระทรวงกลาโหม รวมถึงการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้บริหารระดับสูง และผู้ปฏิบัติซึงจะทําให้ได้รับทราบการดําเนินงานของประชาคมอาเซียน ตลอดจนผลกระทบและบทบาท ของกระทรวงกลาโหมต่อประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียน ทังนีจากการวิจัยพบว่าการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนในปี จะทําให้เกิดความมันคงและสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอืนได้ แต่ยังขาด ความชัดเจนในด้านนโยบายและการปฏิบัติ ซึงองค์ประกอบ เสาหลัก ของการเป็ นประชาคม อาเซียนคือ ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคม และวัฒนธรรม โดยสรุปในภาพรวมแล้ว การรับรู้ของประชาคมอาเซียน ข้อจํากัดอยู่ในส่วนของ ผู้รับผิดชอบและสถาบันการศึกษาทีให้ความสําคัญอย่างต่อเนือง จึงเห็นควรทีจะสร้างองค์ความรู้ ให้กับทุกภาคส่วนเพือให้เกิดความรู้ความเข้าใจ เกิดการยอมรับจนเกิดความร่วมมือในทุกระดับ

abstract:

0