เรื่อง: ยุทธศาสตร์การป้องกันไซเบอร์กระทรวงกลาโหม
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี สุทธิศักดิ์ สลักคำ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง ยุทธศาสตรการปองกันไซเบอรกระทรวงกลาโหม
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร, การทหาร
ผูวิจัย พลตรี สุทธิศักดิ์ สลักคํา หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๗
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคในการศึกษาภัยคุกคามไซเบอรที่มีผลกระทบตอความ
มั่นคงของชาติ โดยศึกษาการรับมือของตางประเทศและประเทศไทย นํามาวิเคราะหสังเคราะหและ
กําหนดเปนยุทธศาสตรการปองกันไซเบอรกระทรวงกลาโหม ขอบเขตของการวิจัย เปนการศึกษาจาก
ขอมูลขาวสารที่เปดเผยทางอินเทอรเน็ต หรือเอกสารที่เผยแพรสูสาธารณะ มุงเนนศึกษาหนวยงาน
ภาครัฐที่เกี่ยวของกับไซเบอร เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ ผลการศึกษาพบวาภัยคุกคามไซเบอรมีวิธีการ
ที่หลากหลายทําใหเกิดความเสียหายตอบุคคล องคกร สังคม เศรษฐกิจ และกระทบตอความมั่นคง
ของชาติในที่สุด ประเทศตาง ๆ ที่ใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนเครื่องมือหลักในการขับเคลื่อน
เศรษฐกิจ และความมั่นคงตางก็ไดรับผลกระทบอยางมากในทุก ๆ ดาน ซึ่งประเทศเหลานี้ได
ดําเนินการรับมือกับภัยคุกคามไซเบอรอยางจริงจัง มีการกําหนดนโยบายและยุทธศาสตรชัดเจน มี
การจัดตั้งหนวยงานรับผิดชอบหลักในการดําเนินการดานไซเบอรที่เขมแข็งชัดเจน ในประเทศไทยพึ่งมี
การจัดตั้งคณะกรรมการความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรแหงชาติขึ้น สําหรับกระทรวงกลาโหม แตละ
หนวยขึ้นตรงกระทรวงกลาโหมและเหลาทัพมีการจัดตั้งหนวยงานรับผิดชอบดานไซเบอรเพื่อปกปอง
เครือขายของตนเอง ปจจุบันกระทรวงกลาโหมยังขาดนโยบายและยุทธศาสตรและหนวยงาน
รับผิดชอบที่ชัดเจน การดําเนินการดานไซเบอรยังไมมีเอกภาพ ขาดแคลนเทคโนโลยีและผูเชี่ยวชาญ
ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถกําหนดยุทธศาสตรการปองกันไซเบอรกระทรวงกลาโหมได๔ ยุทธศาสตร
คือ การเสริมสรางศักยภาพดานไซเบอรของกระทรวงกลาโหม การปองกันไซเบอร การปองกัน
ไซเบอรเชิงรุก และการผนึกกําลังดานไซเบอร โดยมีขอเสนอแนะที่สําคัญคือ ควรจัดใหมีศูนย
บัญชาการไซเบอรกระทรวงกลาโหม เพื่อเปนหนวยรับผิดชอบหลักในระดับนโยบายและยุทธศาสตร
และจัดใหมีศูนยปฏิบัติการไซเบอรของกองบัญชาการกองทัพไทยและเหลาทัพรับผิดชอบการ
ปฏิบัติการไซเบอรและกระทรวงกลาโหมควรกําหนดนโยบายและยุทธศาสตรที่ชัดเจนใหสอดคลอง
กับนโยบายไซเบอรในระดับชาติ เพื่อเกื้อกูลตอการดําเนินงานดานไซเบอรของประเทศไทย ใหมีความ
มั่นคงปลอดภัย เพื่อนําประเทศไทยไปสูความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
abstract:
Abstract
Title: The Department of Defence Cyber Strategy
Category: Strategy, Defence
Researcher: Major General Suttisak Slakcom Course: TNDC Batch: 57th
The objective of this research is to study Cyber Threats that will affect the National
Security by studying, analyzing, and synthesizing many international and national cases of
responsive measures to define the Department of Defence Cyber Strategy. Scopes of this
qualitative research cover available data and information from internet and public
documents, focused on cyber-related government agencies. The results reveal varieties of
methods to cause harms to people, organizations, society, economy, and eventually the
National Security. Countries, that use information technologies as the main driving force, are
highly affected in every aspects. These IT-related countries are well prepared to response to
Cyber Threats seriously, by using well-defined policies and strategies and clearly assigning
the main organization to be responsible for Cyber Operations. In Thailand, this was the first
time that National Cybersecurity Committee was founded. For the Ministry of Defence, every
organic units and the Royal Thai Armed Forces have already founded cyber-related units to
protect their own systems and networks. At present, the Ministry of Defence lacks cyberrelated policies and strategies, and the main organization to be responsible for Cyber
Operations is not clearly assigned yet. Cyber Operations are not well-integrated and united.
Necessary technologies and experts are also scarce. In this research, there are 4 cyber
strategies for the Ministry of Defence.