เรื่อง: แนวทางการเปิดจุดผ่านแดนถาวร กรณีที่ยังไม่มีความชัดเจนในเรื่องเส้นเขตแดน ไทย-กัมพูชา
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี ธรากร ธรรมวินทร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรืÉอง แนวทางการเปิดจุดผา่ นแดนถาวรกรณีทÉียงัไม่มีความชดัเจน
ในเรืÉองเส้นเขตแดน ไทย-กมั พูชา
ลกัษณะวชิา การเมือง
ผ
ู้วจิัย พลตรี ธรากร ธรรมวินทร นักศึกษา วปอ. รุ่นทีÉ56
การศึกษา แนวทางการเปิดจุดผ่านแดนถาวรกรณีทีÉยงัไม่มีความชัดเจนในเรืÉองเส้น
เขตแดน ไทย-กมั พูชา มีวตัถุประสงค์เพืÉอศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการบริหารจดัการทÉีมี
ความเหมาะสม ในการเปิดจุดผ่านแดนถาวร ในขณะทีÉยงัไม่มีความชดั เจนในเรืÉองเส้นเขตแดน
ไทย-กมั พูชา สรุปผลไดด้งันีÊ
การเปิดจุดผ่านแดนไทย-กมัพูชายงัไม่มีกระบวนการเพืÉอจดัการกบัปัญหาการกล่าว
อ้างเส้นเขตแดนทีÉแตกต่างกัน ในขณะทีÉการสํารวจและจดัทําหลักเขตแดน ซÉึงดําเนินการโ ดย
คณะกรรมาธิการเขตแดนร่วมไทย-กัมพูชา(Joint Boundary Commission : JBC) ยงัไม่แล้วเสร็จ
จงัหวดัชายแดนของทัÊงสองประเทศคือกลไกหลกัในการดาํ เนินการเปิดจุดผ่านแดน จึงตอ้งประสบ
กบัปัญหา โ ดยทÉีผา่ นมารัฐบาลทÊงัสองฝ่ายไดเ้ห็นชอบให้มีการสํารวจแนวสันปันนÊาขั ํ Êนตน้ (Detail
Survey) เพืÉอใชเ้ป็นแนวอา้งอิงแต่ก็ยงัไม่สามารถกาํหนดแนวทางการปฏิบตัิทÉีชดัเจนวา่ ให้ยึดแนว
สันปันนํÊาขัÊนตน้ นÊีเป็นแนวเส้นเขตแดนได้เลยหรือไม่ เพราะสันปันนÊาที ํ ÉตรวจพบนีÊเป็ นเพียงสัน
ปันนํÊาระยะสัÊนๆไม่ไดเ้ป็นสันปันนÊาํ ต่อเนÉือง เพราะตอ้งกนัแนวห้ามใชป้ระโยชน์ห่างจากแนวสัน
ปันนํÊาทีÉพบนีÊตามบนัทึกผลการหารือร่วมในการเปิดจุดผา่ นแดน รวมทัÊงเจา้หน้าทีÉผูป้ ฏิบตัิงานยงั
ขาดความรู้ความเขา้ใจในขÊนัตอนและวิธีการดาํ เนินงาน ขาดการบูรณาการการขบั เคลืÉอนแผนงาน
ทีÉสําคญั ยงัขาดความไวเ้นÊือเชืÉอใจกนั นอกจากนีÊยงัขาดการเอาใจใส่ต่อปัญหาทÉีส่งผลกระทบต่อ
ความสัมพนัธ์ระหวา่ งประเทศ ทาํใหป้ัญหาลุกลามขยายตวัเป็นอุปสรรคต่อการพฒั นาร่วมกนั
รูปแบบการดาํ เนินการเปิดจุดผ่านแดนถาวร ทÉีผูว้ิจยัได้ดาํ เนินการในสองพÊืนทีÉนัÊน
สามารถนาํไปประยุกตใ์ชเ้ป็นแนวทางในการดาํ เนินงานในพÊืนทีÉชายแดนดา้นอืÉนๆในทุกภาคของ
ประเทศ ทีÉยงัมีปัญหาความไม่ชดัเจนเรืÉองเส้นเขตแดน และควรมีโครงการเสริมสร้างความสัมพนัธ์
กับประเทศเพÉือนบ้าน ในทุกหน่วยงานและทุกระดับ ทÊังฝ่ ายพลเรื อน ฝ่ ายความมัÉนคง และ
ภาคเอกชน ตัÊงแต่ระดบั ทอ้งถÉิน จนถึงระดบั ชาติเพืÉอเสริมสร้างความสัมพนัธ์อนัดีระหว่างบุคลากร
ของทัÊงสองประเทศ ซึÉงจะนาํ มาสู่ความไวเ้นÊือเชืÉอใจกนั ในระดบั ทÉีสามารถดาํ เนินการร่วมกนั ใน
ทุกๆดา้นไดอ้ยา่ งมีประสิทธิภาพ
abstract:
ABSTRACT
Title Approach to Open Major Official Border Crossing Points in Case of
No Clarity in Thailand - Cambodia Borderline
Field Politics
Name Major General Tharakorn Dhamvinthorn Course NDC Class 56
The research, Approach to Open Major Official Border Crossing Points in Case of
No Clarity in Thailand - Cambodia Borderline, aimed to study the existing problems and the
management practices that were appropriate to open the major official border crossing points
while there was no clarity in Thailand - Cambodia borderline, which could be summarized as
follows.
The opening of the Thailand - Cambodia border crossing points had no procedure to
deal with different claims of borderlines while the survey and border mark preparation, which
was operated by the Thailand - Cambodia Joint Boundary Commission (JBC) had not been
completed; therefore, the border provinces of both countries, which were the main mechanism in
the opening operation of the border crossing points, faced with the problems. In the past, both
governments had agreed to perform the survey of the preliminary drainage divide (Detail Survey)
to use as the reference line but the apparent operating guidelines still could not be determined
whether the preliminary drainage divide could be abided as the borderline or not because the
discovered drainage divide was a short drainage divide. And, it was not a continuous drainage
divide because the “No Use” line must be set aside from the discovered drainage divide in
accordance with the joint discussion record in the opening of the border crossing points,
including officials still lacked knowledge and understanding in procedures and methods of
operation, lacked integration of plan drives, and most importantly lacked trust among one another.
In addition, there was a lack of attention to issues that affected international relationships, which
caused the aggressive expansion of the problems hindering the joint development.
The patterns of opening operation of major official border crossing points, which the
researcher proposed in the two areas, could be applied as guidelines for the operation in other
border areas in every region of the country that still had the problem of no clarity in borderline.
And, it should have a program to strengthen relationships with neighboring countries in all
departments and at all levels among civilian, security forces and private sectors from local to
national level to strengthen good relationships between people of the two countries, which would
lead to trust in a level that could be effectively performed joint operations in all areas.