เรื่อง: การบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินกรณีเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันเอก สุชาติ สุทธิพล
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรือง การบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินกรณีเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ
ลักษณะวิชา การทหาร
ผู้วิจัย พ.อ.สุชาติ สุทธิพล หลักสูตร วปอ. รุ่นที57
การวิจัยครังนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาการบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินกรณีเกิดภัย
พิบัติทางธรรมชาติ เพือนําไปสู่การวางระบบการบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน ในการช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยพิบัติทางธรรมชาติของกองบัญชาการกองทัพไทย การวิจัยครังนีได้ใช้วิธีการวิจัยเชิง
คุณภาพ (Qualitative Research) เนืองจากลักษณะของงานวิจัยนีจะเป็ นการยืนยันคําตอบด้วย
ข้อเท็จจริงทางตรรกะ และการอ้างอิงเพือนําไปสู่ข้อสรุปทีมีตัวบ่งชีทีสําคัญได้แก่ความชัดเจนด้าน
นโยบายการจัดสรรงบประมาณ สมรรถนะของกําลังพล ความพร้อมด้านยุทโธปกรณ์และศักยภาพ
การบริหารจัดการ สิงทีกล่าวมานีเป็ นองค์ประกอบทีสําคัญในการปฏิบัติงานในด้านการบริหารจัดการ
สถานการณ์ฉุกเฉินกรณีเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติเพือให้งานบรรลุวัตถุประสงค์
ผลการวิจัยพบว่าการบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินกรณีเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ
ของกองบัญชาการกองทัพไทย มีการเตรียมการและมีระบบการบริหารจัดการทังหน่วยงานทีเกียวข้อง
ภายในและส่วนราชการภายนอกกองบัญชาการกองทัพไทย ในระดับดีแต่พบว่ายังมีปัญหาในส่วนที
เกียวข้องกับ ด้านกําลังพลงบประมาณ ยุทโธปกรณ์และการบริหารจัดการโดยอาจใช้แนวทางในการ
แก้ปัญหาดังกล่าวได้ดังนี
. ด้านกําลังพล จะต้องเพิมพูนความรู้ให้กับกําลังพลทีปฏิบัติหน้าทีในด้านบรรเทา
สาธารณภัยจัดให้กําลังพลได้ผ่านการอบรมในหลักสูตรทีเกียวข้องให้ความสําคัญในหลักการจัดการ
เชิงรุก คือ มุ่งเน้นให้การฝึ กศึกษากับกําลังพลให้มีทักษะการช่วยเหลือบรรเทาสาธารณภัยตังแต่ใน
เวลาปกติ
2. ด้านงบประมาณ งบประมาณทียังไม่เหมาะสมกับสถานการณ์ด้านภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติในปัจจุบัน กําลังพลทีปฏิบัติงานด้านบรรเทาสาธารณภัยยังขาดประสบการณในการ
ฝึ กอบรมกับหน่วยงานภายนอก หรื อองค์กรกู้ภัยของต่างประเทศ ทําให้ขาดความชํานาญและ
ขาดความมันใจในการปฏิบัติงาน ควรจัดทําแผนการใช้จ่ายงบประมาณเป็ นแผนระยะยาว
ทังในเรืองการฝึ กศึกษาและการจัดหายุทโธปกรณ์ในงานบรรเทาภัยพิบัติ รวมทังรายจ่ายอืนๆให้
ครอบคลุมข
3. ด้านยุทโธปกรณ์จัดทําโครงการจัดหายุทโธปกรณ์บรรเทาภัยพิบัติทีทันสมัยเพือให้มี
ความพร้อมในการช่วยเหลือผู้ประสบภัยได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ให้สอดคล้องกับ
สถานการณ์ภัยพิบัติทางธรรมชาติในปัจจุบันและแนวโน้มการเกิดภัยพิบัติในอนาคต
4. ด้านการบริหารจัดการการเกิดภัยพิบัติขนาดใหญ่จนกระทังหน่วยงานใดหน่วยงาน
หนึงไม่สามารถทีจะบริหารจัดการได้ตามลําพัง หรือมีทรัพยากรเพียงพอต่อการรับมือได้การระดม
ความช่วยเหลือจากหน่วยงานเครือข่ายต่างๆ หรือแม้แต่จากประเทศอืนๆ เป็ นเรืองทีจําเป็ น ซึงการทีจะ
บริหารจัดการให้หน่วยงานต่างๆเหล่านีสามารถปฏิบัติงานร่วมกันได้อย่างราบรืนนัน จําเป็ นต้องนํา
ระบบการบริหารจัดการแบบทีเรียกว่าระบบบัญชาการเหตุการณ์(INCIDENT COMMAND SYSTEM -
ICS ) มาใช้ซึงระบบนีเป็ นทียอมรับกันว่าเป็ นระบบทีเป็ นมาตรฐาน สามารถนํามาใช้ได้กับการ
แก้ปัญหาภัยพิบัติต่างๆได้ทุกภัย และเป็ นระบบซึงปัจจุบันหลายประเทศได้นําไปใช้ในประเทศ
สหรัฐอเมริกา DEPARTMENT OF HOMELAND SECURITY ได้กําหนดเป็ นเงือนไขว่าหน่วยงานทีจะได้รับ
การช่วยเหลือทางการเงินจากรัฐบาลกลางจะต้องนําระบบ ICS มาใช้ในการบริหารจัดการแก้ปัญหา
ฉุกเฉินต่างๆ ด้วย
การป้ องกันบรรเทาและแก้ไขปัญหาทีเกิดขึนจากภัยพิบัติจะดําเนินการไปด้วยความ
เรียบร้อยและมีประสิทธิภาพ เจ้าหน้าทีในทุกระดับควรมีความรู้ความเข้าใจในระบบบัญชาการ
เหตุการณ์ICS เป็ นอย่างดีในการบริหารจัดการเพือแก้ไขปัญหาจากภัยพิบัติต่างๆ แม้ว่าจะสามารถ
ดําเนินการจนสามารถกู้ภัยและเข้าช่วยเหลือฟืนฟูจนผ่านพ้นเหตุการณ์ต่างๆไปได้แต่ในการจัดการ
กับภัยขนาดใหญ่ซึงมีจํานวนผู้คนทีเข้ามาร่วมปฏิบัติจํานวนมาก ทังจากหน่วยราชการต่างๆ จากมูลนิธิ
และอาสาสมัครทังในและนอกประเทศ อีกทังวิธีการปฏิบัติต่างๆ ยังไม่มีการกําหนดไว้ให้ชัดเจน
ดังนันจึงมีปัญหาในการดําเนินการอยู่บ้าง ซึงแม้แต่ในต่างประเทศเอง ในการบริหารจัดการภัยพิบัติ
ขนาดใหญ่ทีผ่านมา หลายประเทศได้พบว่าปัญหาในการเข้ากู้ภัยและให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบภัย
ซึงล่าช้าและไม่มีประสิทธิผลเท่าทีควรนัน มิได้มีสาเหตุมาจากการขาดแคลนทรัพยากรแต่อย่างใดเมือ
เกิดภัยพิบัติขึนจะพบว่ามีการส่งกําลังและสิงของต่างๆ เข้าช่วยเหลือเป็ นจํานวนมากเรืองกําลังคนและ
ทรัพยากรจึงไม่ใช่ตัวปัญหาแต่ปัญหาทีแท้จริงน่าจะอยู่ทีการบริหารจัดการ(MANAGEMENT)คือการ
ทําให้หน่วยกําลังทุกหน่วยทีมาจากหน่วยงานต่างๆ สามารถเข้าปฏิบัติงานร่วมกันได้เป็ นอย่างดีมีการ
ติดต่อสือสารและประสานงานกันดีมีการแบ่งแยกงานและมีผู้รับผิดชอบชัดเจน การจัดลําดับ
ความสําคัญของงาน และการจะทําแผนการปฏิบัติการใช้ร่วมกันเพียงแผนเดียว จึงจะช่วยแก้ปัญหา
การสังการทีสับสนลงได้
abstract:
ABSTRACT
Title Emergency management in case of natural disasters situations.
Field Military
Name Colonel Suchart Suttipol Course NDC Class 57
Abstract
The lack of emergency preparedness, response preparation and planning to help the victims
in the Disaster Relief of the Armed Forces Development Command are reported in the previous studies.
These are due to the limitations of the number of staffs, equipment and awareness of the leader and co- workers.
This is a cross-sectional qualitative analysis study. The data were analyzed including the
management practices for disaster relief work. The objective of this study to determine the model of
integration practices and compare the difference between problems in the past and present.
Our study recommended that abundance of the budgets, the number of troops, skill of
practitioners and the essential devices should be provided to support the disaster relief by Empowering
the Disaster Relief of Armed Forces Development Command. Besides the community - based disaster
drills should be established as a whole - city disaster response plan. Furthermore, awareness of good
preparation for any unpredictable disasters and the informal social networks should be generated from
the leaders and staffs in all sectors.
Keyword : Disaster Relief , Emergency managementABSTRACT
เรือง การบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินกรณีเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ
ลักษณะวิชา การทหาร
ชือ พันเอก สุชาติ สุทธิพล หลักสูตร วปอ. รุ่นที 57
บทคัดย่อ
การบริ หารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินกรณีเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติของกองบัญชาการ
กองทัพไทยทีผ่านมา พบว่าความพร้อมและการเตรียมความพร้อมต่อการช่วยเหลือผู้ประสบภัยเป็ นเพียง
การแก้ไขสถานการณ์เฉพาะหน้า กอร์ปกับหน่วย ยังขาดแคลนทรัพยากรเช่น เจ้าหน้าทีทีรับผิดชอบ
โดยตรง และเครืองมือเครืองใช้ทีจําเป็ น นอกจากนีผู้มีส่วนเกียวข้องยังขาดความตระหนักต่อการเตรียม
ความพร้อมในการรับมือกับการช่วยเหลือผู้ประสบภัยด้วย
การวิจัยครังนีเป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลการบริหารจัดการแนวปฏิบัติงาน
ด้านบรรเทาสาธารณภัย เพือกําหนดรูปแบบปฏิบัติเชิงบูรณาการ และเปรียบเทียบปัญหาอุปสรรคทีผ่านมา
ผลการศึกษาพบว่าแนวทางการพัฒนาศักยภาพของกองบัญชาการกองทัพไทย ในการช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยพิบัติควรมีการจัดสรรงบประมาณรองรับการบริหารจัดการภัยพิบัติ โดยเฉพาะในการ
เตรียมความพร้อมควรมีการจัดหากําลังพล เครืองมือเครืองใช้ทีจําเป็ นสําหรับรองรับการช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยพิบัติและควรจัดทําแนวทางการปฏิบัติเมือเกิดภัยทีเกิดจากความต้องการของประชาชน
การมุ่งสร้างจิตสํานึกด้านการเตรียมความพร้อมและการตระหนัก ต่อภัยในทุกภาคส่วน มุ่งเน้นการสร้าง
เครือข่ายไม่เป็ นทางการสําหรับการปฏิบัติเมือเกิดภัยเพือประสานงานและบูรณาการในการทํางานร่วมกัน
คําสําคัญ : การช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ,การบริหารจัดการสถานการณ์ฉุกเฉิน
Abstract
The lack of emergency preparedness, response preparation and planning to help the victims in
the Disaster Relief of the Royal Thai Armed Forces Headquarters are reported in the previous studies.
These are due to the limitations of the number of staffs, equipment and awareness of the leader and co- workers.
This is a cross-sectional qualitative analysis study. The data were analyzed including the
management practices for disaster relief work. The objective of this study to determine the model of
integration practices and compare the difference between problems in the past and present.Our study recommended that abundance of the budgets, the number of troops, skill of
practitioners and the essential devices should be provided to support the disaster relief by Empowering
the Disaster Relief of Royal Thai Armed Forces Headquarters. Besides the community - based disaster
drills should be established as a whole - city disaster response plan. Furthermore, awareness of good
preparation for any unpredictable disasters and the informal social networks should be generated from
the leaders and staffs in all sectors.
Keyword : Disaster Relief , Emergency management