เรื่อง: แนวทางในการจัดกลุ่มผู้ต้องขังให้เหมาะสมกับพฤติกรรมเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการ ควบคุม ป้องกัน แก้ไข ปัญหายาเสพติดและการแก้ไขพฤตินิสัย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พันตำรวจเอก สุชาติ วงศ์อนันต์ชัย
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางในการจัดกลุ่มผู้ต้องขังให้เหมาะสมกับพฤติกรรม เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ
ในการควบคุม ป้องกัน แก้ไข ปัญหายาเสพติดและการแก้ไขพฤตินิสัย
ผู้วิจัย พันต ารวจเอกสุชาติวงศ์อนันต์ชัย หลักสูตร วปอ.รุ่นที่ ๕๗
ต าแหน่ง ผู้ตรวจราชการกระทรวงยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
กรมราชทัณฑ์เป็นหน่วยงานสุดท้ายในกระบวนการยุติธรรม ที่มีหน้าที่ในการปฏิบัติต่อ
ผู้กระท าผิดให้เป็นไปตามค าพิพากษาของศาล ในอดีตกรมราชทัณฑ์มุ่งเน้นในการลงโทษลงทัณฑ์ต่อ
ผู้กระท าผิด จนกระทั่งต่อมาปรัชญาในการลงโทษได้เปลี่ยนไป โดยเห็นว่า ผู้กระท าความผิด สามารถ
ที่จะแก้ไขฟื้นฟูให้กลับตนเป็นคนดีได้ ภารกิจของกรมราชทัณฑ์จึงเปลี่ยนแปลงไป โดยมุ่งเน้นต่อการ
แก้ไขพฤตินิสัยของผู้ต้องขัง มากกว่า การมุ่งเน้นในด้านการลงโทษ แต่ในความเป็นจริง กลับพบว่า
ภารกิจในการแก้ไขพฤตินิสัยผู้ต้องขัง ยังไม่สามารถด าเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยปัจจัยหนึ่ง
ที่ท าให้การด าเนินการไม่ประสบความส าเร็จ คือ การจัดกลุ่มผู้ต้องขังที่ยังไม่เหมาะสมกับพฤติกรรม
ท าให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น การใช้เรือนจ าเป็นฐานในการกระท าผิด การลักลอบน าเข้ายาเสพติด
สิ่งของต้องห้าม การกระท าความผิดซ าเมื่อพ้นโทษออกมา เป็นต้น
การศึกษา “แนวทางในการจัดกลุ่มผู้ต้องขังให้เหมาะสมกับพฤติกรรม เพื่อให้เกิด
ประสิทธิภาพในการควบคุม ป้องกัน แก้ไขปัญหายาเสพติดและแก้ไขพฤตินิสัย”ในครั งนี พบว่า
หากกรมราชทัณฑ์ สามารถจัดกลุ่มผู้ต้องขังได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะสามารถแก้ไขปัญหาข้างต้น
รวมทั งเกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติ สังคมและประชาชนจึงได้เสนอแนะแนวทางการด าเนินการ
เกี่ยวกับการจัดกลุ่มผู้ต้องขังในรูปแบบของโมเดล คือ 4C2S Model ได้แก่ การจัดประเภทผู้ต้องขัง
(Categorization) แบบทดสอบความเป็นอาชญากร (Criminal Mind) พัฒนาระบบการจ าแนก
(Classification) ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ (Commandment) เรือนจ าเฉพาะทาง
(Special) จัดหาและพัฒนาเจ้าหน้าที่ให้เพียงพอและมีประสิทธิภาพ (Staff) มีการแบ่งกลุ่มผู้ต้องขัง
ออกเป็น ๗ กลุ่ม ตามลักษณะพฤติกรรม และสมรรถนะ ได้แก่ ผู้ต้องขังแก้ไขไม่ได้ผู้ต้องขังแก้ไขยาก
ผู้ต้องขังแก้ไขได้ผู้ต้องขังโรคจิต ผู้ต้องขังหญิงที่มีครรภ์และเด็กติดผู้ต้องขัง ผู้ต้องขังระหว่างการ
พิจารณาคดีและผู้ต้องขังป่วยสูงอายุ/พิการ เพื่อน าไปสู่การจัดเรือนจ าประเภทต่างๆ รองรับผู้ต้องขัง
แต่ละประเภท มีการจัดท าแบบทดสอบทางจิตวิทยา เรียกว่า แบบทดสอบความเป็นอาชญากร
(Criminal Mind) เพื่อใช้ ทดสอบผู้ต้องขังทุกคน ให้ทราบลักษณะความเป็นอาชญากรของผู้ต้องขัง
แต่ละคน น าไปสู่การจัดชั นผู้ต้องขัง การควบคุมต่อไป
สุดท้ายได้น าเสนอในการแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ รวมถึงการพัฒนาปรับปรุง
เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง โดยการจัดตั งศูนย์จ าแนกผู้ต้องขัง เพื่อท าหน้าที่ในการก าหนดมาตรฐานการ
ปฏิบัติงาน ให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศต่อไป
ก
abstract:
Abstract
Title:THE GUIDELINE FOR PRISONER CATERGORIZATION FOLLOWING THE APPROPRIATED BEHAVIORS TO
BE THE EFFECTIVE CUSTODY, DRUG PREVENTION AND REHABILITATION
Researcher:Pol.Col.SuchartWongananchai
Curriculum:57th TNDC
Position:Inspector General Ministry of Justice
The Department of Corrections is the last organization of the justice system which is
responsible for custody offenders following the sentence of the court. In the past, the
Department of Corrections emphasized punishment to offenders until the new philosophy
of penalty had been changed. This new ideas focuses on rehabilitation prisoners to be a
decent citizen. With the philosophy, the mission of the Department of Corrections had
been changed and focused on prisoner rehabilitation more than punishment. However, in
the reality the conducting prisoner rehabilitation is not effective. This is because the factor
of prisoner categorizationis not successful following their behaviors. This issue results in the
difficulties within prisons especially using prison as the center of drug networking,
contraband smuggling, and recidivism after released. Therefore, this research emphasizes the
study on the guideline for prisoner categorization following the appropriated behaviors to be
the effective custody, drug prevention and rehabilitation.
The research finds that if the Department of Corrections can categorize prisoners
effectively, this will lead to solving the difficulties of prisoner rehabilitation. This also will be
benefits to country, society, and public. With this idea, this leads to creating the model of
prisoner categorization known as 4C2S model. This model highlights on Categorization of
prisoner, Criminal mind testing, Classification system, Commandment, Special prison, and
Staff. The research separates prisoners to be the 7 groups following their behaviors and
competencies. The 7 groups of prisoners are the hard core group to change behaviors, the
difficulty group of rehabilitation, mental illness group, and pregnant group, remand prisoners,
illness prisoners, and disable prisoners. These groups are separated to be group in order to
categorize the type of prisoners for custody in each group. Also, the conducting has created
the psychological testing known as Criminal Mind. The criminal mind is used to test the
characteristics of criminals in each prisoner. This process will be useful to prisoner
categorization and effective custody respectively.
Lastly, the study shows that laws and regulations should be revised to be effective.
Also, staff should be developed in various aspects especially the relevant officers and they
should be set the same standard for their working.