เรื่อง: แนวทางในการใช้ระบบอากาศยานไร้คนขับเพื่อสนับสนุนภารกิจด้านการบรรเทาสาธารณภัย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาวาอากาศเอก สุจินดา สุมามาลย์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2557
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางในการใชระบบอากาศยานไรคนขับเพื่อสนับสนุนภารกิจดานการ
บรรเทาสาธารณภัย
ลักษณะวิชา การทหาร
ผูวิจัย นาวาอากาศเอก สุจินดา สุมามาลย หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๗
จากปรากฏการณการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ (Climate Change) และภาวะ
โลกรอน (Global Warming) ที่เกิดขึ้นในทั่วทุกมุมโลก ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงและการเคลื่อนตัว
ของเปลือกผิวโลกเปนตนตอสาเหตุทางธรรมชาติที่ทําใหเกิดภัยพิบัตินอกจากนี้การกระทําของมนุษย
ที่ทําลายสมดุลทางธรรมชาติและความประมาทขาดจิตสํานึก นับเปนสาเหตุที่สําคัญอีกประการที่ทําให
เกิดภัยพิบัติและสาธารณภัยไดเชนเดียวกัน ซึ่งจากสถิติจะเห็นวานับวันภัยตางๆ เหลานี้จะเกิดขึ้น
อยางตอเนื่องและบอยครั้ง การเกิดในแตละครั้งยังผลใหเกิดความเสียหายและความสูญเสีย
อยางรุนแรง กองทัพอากาศในฐานะหนวยงานที่เกี่ยวของกับการดูแลรับผิดชอบดานความมั่นคงที่มี
ยุทโธปกรณ กําลังพล และความพรอมทางองคความรูดานการบิน การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค
เพื่อศึกษาความเหมาะสม ความเปนไปได รวมถึงการกําหนดแนวทางการใชระบบอากาศยานไรคนขับ
ของกองทัพอากาศเพื่อสนับสนุนภารกิจดานการบรรเทาสาธารณภัย ผูวิจัยไดศึกษา คนควา ขอมูลทั้ง
ปฐมภูมิ และทุติยภูมิ จากเอกสาร บทความ นโยบายและระเบียบตางๆ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวของ
และนําขอมูลมาวิเคราะหเพื่อออกแบบขอคําถามในแบบสัมภาษณ ซึ่งจะนําไปทําการสัมภาษณเชิงลึก
(In Depth Interview) ตอผูเชี่ยวชาญ และเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวของ สุดทายจะนําขอมูลที่ได
จากการสัมภาษณมาวิเคราะห สังเคราะห จนไดผลการวิจัย
ผลการวิจัยสรุปไดดังนี้คือ การนําระบบอากาศยานไรคนขับของกองทัพอากาศมาใชเพื่อ
การสนับสนุนภารกิจดานการบรรเทาสาธารณภัยมีความเปนไปได และเหมาะสมอยางยิ่ง เนื่องจาก
สามารถตอบโจทยสถานการณภัยพิบัติหรือสาธารณภัยไดเปนอยางดีดวยขีดความสามารถของ
ระบบอากาศยานไรคนขับเอง และความพรอมในองคความรูดานการบินของกองทัพอากาศดวย
ที่สําคัญสิ่งนี้ไดเกิดขึ้นในประเทศตางๆ หลายประเทศ ซึ่งเราสามารถเรียนรูหรือนําแนวทางมา
ประยุกตใชได แนวทางที่ไดจากการวิจัยคือ ผูบังคับบัญชาระดับสูงตองกําหนดเปนนโยบายหรือ
ยุทธศาสตรของกองทัพที่จะนําไปสูการปฏิบัติตอมาจะตองจัดทําแนวความคิดการปฏิบัติ(CONOPS)
ในเรื่องนี้โดยเฉพาะ เพื่อสรางกรอบแนวทางการปฏิบัติใหชัดเจนและเปนรูปธรรม จากนั้น
จึงดําเนินการขยายเครือขายสรางความรวมมือในการปฏิบัติภารกิจเพื่อเสริมสรางศักยภาพความพรอม
ไปยังภาครัฐและภาคเอกชนตามความเหมาะสม การวางแผนและกําหนดทิศทางการวิจัยพัฒนาระบบข
อากาศยานไรคนขับของกองทัพอากาศ ใหสอดรับกับยุทธศาสตรของกองทัพอากาศขางตน รวมถึง
การบูรณาการดานระบบเชื่อมโยงขอมูล (Data Link) และรูปแบบขอมูล (Data Format) เพื่อใหแนใจ
วาขอมูลที่ไดมานั้น ตรงตามความตองการของผูปฏิบัติงานในพื้นที่แนวทางประการสุดทายที่ถือวาสําคัญ
เปนอยางมากคือ การเตรียมการในเรื่องของบุคลากรที่จะเขามาปฏิบัติงานเพื่อขับเคลื่อนการใชระบบ
อากาศยานไรคนขับในการสนับสนุนภารกิจดานการบรรเทาสาธารณภัย
abstract:
ABSTRACT
Title The guideline of applying the Royal Thai Air Force Unmanned Aerial
System (RTAF UAS) for supporting the disaster relief mission.
Field Military
Name Group Captain Sujinda Sumaman Course NDU Class 57
The situation of Climate Change and Global Warming has currently occurred in
several corners of the world. Comprising of the movements of the crust of the earth
and a lack of awareness in human activities which effects the balance of nature. All
above reasons are causes of the disaster. The statistics showed the increasing and
more frequent of damages and loss of life.
Royal Thai Air Force, as the security organization, which prompt on military
equipment, personnel and aeronautical knowhow is ready. This study aims to explore
the possibility, suitability as well as to identify the guideline of applying the Royal
Thai Air Force Unmanned Aerial System (RTAF UAS) for supporting the disaster relief
mission. All relevant documents, articles, regulations and other essential researches
are collected and analyzed to design the questionnaires. The RTAF experts and
officials involved are interviewed through the mean of in-depth interview
The result of research showed it is possible and suitable to apply the RTAF
UAS for supporting the disaster relief mission in according with its own performance
and capability in a crisis response including an ability of the RTAF personnel and
existing aeronautical knowhow. Significantly, we are able to learn and apply from
many nations. For its guideline, the high level commander must initially assign specific
policy and strategy for this implementation. Concept of operation (CONOP) must
particularly be created subject to make explicitly conceptual framework. Then, the
expansion of network cooperation in both public and private sectors should be
executed to strengthen the potential and readiness. The direction of research and
development must be planned for corresponding with RTAF strategy. The integration
of data link system and data format must be conducted perfectly and assured that itis correct to user’s requirements. The most important thing is personnel preparation
in order to operate UAS for this mission.