เรื่อง: แนวทางพัฒนาระบบการบังคับคดีผู้ประกันในคดีอาญาของศูนย์บังคับคดีผู้ประกันศาลอาญากรุงเทพใต้
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ธนรัตน์ ทั่งทอง
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรืÉอง แนวทางพฒั นาระบบการบงัคบัคดีผูป้
ระกนั ในคดีอาญาของศูนยบ
์
งัคบัคดี
ผปู้
ระกนัศาลอาญากรุงเทพใต
้
ลกัษณะวชิา การเมือง
ผวู้ิจยั นายธนรัตน
์
ทงทอง ัÉ หลกัสูตร วปอ.รุ่นทีÉ๕๖
การศึกษาครัÊงนีÊเป็นการวิจยัเชิงคุณภาพ มีวตัถุประสงค์เพืÉอศึกษาระบบการปล่อย
ชัวÉ คราวและการบงัคบัคดีผูป้ ระกนั ในคดีอาญาของสํานกังานศาลยุติธรรม และของศูนยบ์ งัคบัคดี
ผูป้ระกนัศาลอาญากรุงเทพใต้ศึกษาปัญหาแนวทางแกไ้ขและพฒั นาระบบการบงัคบัคดีผูป้ ระกนั
ในคดีอาญาของศูนยบ์ งัคบัคดีผูป้ระกนัศาลอาญากรุงเทพใต้วธิีการศึกษาวเิคราะห์จากเอกสารและ
การสัมภาษณ์ผบู้ริหารหน่วยงานทÉีเกีÉยวขอ้ง ตลอดจนการสังเกตของผวู้ิจยัและคณะทาํงานบงัคบัคดี
ผปู้ระกนัศาลอาญากรุงเทพใต้
ผลการศึกษา พบว่าการดาํ เนินงานของศูนยบ์ งัคบัคดีผูป้ ระกนัศาลอาญากรุงเทพใต้
แมว้า่ จะสามารถดาํ เนินการไดผ้ลในระดบั หนÉึงแลว้ก็ยงัปรากฏปัญหาเกÉียวกบัการบงัคบัคดีผปู้ระกนั
ทีÉผดิสัญญาประกนั ทÊงัในดา้นบุคลากรและในดา้นระบบการบงัคบัคดี
ขอ้ เสนอแนะในดา้นบุคลากรควรเพิÉมอตัรากาํลงัผูพ้ ิพากษาและเจา้หน้าทÉีทีÉมีความ
ชาํนาญ ในดา้นระบบการบงัคบัคดีควรให้ความรู้และความเขา้ใจแก่ผปู้ระกนัและประชาชนทวไป ัÉ
ในเรืÉองทีÉเกÉียวข้อง ควรตรวจสอบผูป้ ระกันอาชีพโดยเคร่งครัด ควรกําหนดหลกั เกณฑ์การสัÉง
ปล่อยชวคราว Éั การงดหรือลดค่าปรับให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ และมาตรฐานเดียวกนั ควร
แกไ้ขกฎหมายเกีÉยวกบัอาํนาจการตรวจสอบการคน้ ทรัพยส์ิน การอายดัเงินเดือน อายคุ วามบงัคบัคดี
ผูป้ ระกนั และเจา้หนÊีมีประกนั ให้ชดั เจนและเหมาะสม ควรตกลงกบั กระทรวงการคลงัให้รับโอน
ทรัพยส์ินตีใช้หนีÊค่าปรับผูป้ระกนั ควรจดัระบบตรวจสอบสถานะของผูป้ระกนัวา่ ถูกพิทกัษ์ทรัพย์
หรือเป็นบุคคลลม้ละลายหรือไม่ในทุกขัÊนตอน ควรให้เจา้หนา้ทีÉถือปฏิบตัิตามหลกัเกณฑ์จาํหน่าย
หนีÊสูญโดยเคร่งครัดและควรให้นาํ หลกั สุจริตมาประกอบการขยายระยะเวลาบงัคบัคดีควรบงัคบั
ให้มีการแต่งตÊังคณะทํางานระดับภาคทุกภาคและศาลชัÊนต้นทุกศาล ส่วนด้านนโยบายควร
กาํ หนดให้การพฒั นาระบบการบงัคบัคดีผูป้ ระกนั เป็นเป้าประสงค์หลกัในแผนยุทธศาสตร์ศาล
ยุติธรรมและควรกาํ หนดบทบาทของโจทก์และเจ้าหนÊีตามคาํ พิพากษาให้ชัดเจนพฒั นาระบบ
ฐานข้อมูลทีÉเกÉียวขอ้ง เพืÉอขอกนั เงินค่าปรับผูป้ ระกนั เป็นค่าใช้จ่ายในการบงัคบัคดีและเร่งจบักุม
ผูต้ ้องหาหรือจาํ เลยทÉีหลบหนีประกนั มาดาํ เนินคดีจดัอบรมหลกั สูตรการบงัคบัคดีผูป้ ระกันเป็น
หลกั สูตรบงัคบั ตลอดจนนาํแนวปฏิบตัิในการบงัคบัคดีผูป้ ระกนั ไปขยายผลกบัการบงัคบัค่าปรับ
จาํ เลยทÉีถูกศาลพิพากษาลงโทษปรับแลว้ไม่ยอมชาํระค่าปรับ
abstract:
Abstract
Topic : Guidelines for developing the system of the enforcement action against
bailor in criminal case at the Bail Center, the Bangkok South Criminal
Court
Subject: Politics
Researcher: Mr. Thanarat Thangthong Course (NDC) Class (56)
This paper is based on a qualitative research. It aims to study the system of the temporary
release and the enforcement action against a bailor in criminal case at the Bail Center of the
Bangkok South Criminal Court, including to solution guidelines and measures to improve. The
methodologies used are analyzing documents, interviewing the executive court staffs working in
the related divisions, and observing by the researcher and the working group in charge of the Bail Center.
The study reveals that the overall operations done by the Bail Center are satisfactory at a
certain level. Nevertheless some problems still remain which are the problems of personnel and
the enforcement action system.
The suggestion to the personnel problem is that the number of judges and court staffs
with expertise should be increased. For the enforcement action system, knowledge and
understanding should be provided to bailors and common people and professional bailors should
be strictly checked. Next the rule on temporary release order and measures to reduce or exempt
forfeited amount should be applied equally at the same standard in accordance with the law.
Moreover the laws on authority for searching assets, seizing salary, the prescription of
enforcement action and secured creditors should be amended clearly and appropriately. Besides,
the Ministry of Finance should allow the court to set off the forfeited debt with bailors’ assets.
The system of bailors’ status information should be set up to check whether the bailor is bankrupt
or under the receivership order. The court staffs should strictly abide by the rule of bad debt
release and apply the good faith principle to the time extension of enforcement action. The
working groups in every region level and the first instance court should be set up. In terms of
policy, the office of judiciary should assign the issue of developing the enforcement action
against the bailor as the primary aim in the strategic plan of the courts of justices and the role of
plaintiffs and judgment creditors should be defined clearly. Improving on setting off the forfeited
amount with the cost of the bail enforcement action and swiftly arresting an accused and the
defendant fled should be done. Training on the enforcement action against the bailor is
compulsory for all personnel. Finally the practices of enforcement action against the bailor should
be applied to the defendant inflicted with the punishment of fine but failed to pay the fine without
being confined in lieu of fine.