Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: นโยบายปฏิสัมพันธ์ทางทหารในประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลโท สิทธิพล นิ่มนวล
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2557
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง นโยบายปฏิสัมพันธทางทหารในประชาคมการเมืองและความมั่นคง อาเซียน ลักษณะวิชา การเมือง ผูวิจัย พลโท สิทธิพล นิ่มนวล หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๕๗ เอกสารวิจัยเรื่อง “นโยบายปฏิสัมพันธทางทหารในประชาคมการเมืองและความมั่นคง อาเซียน” ฉบับนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาวะแวดลอมดานความมั่นคงในอาเซียน รวมทั้งศึกษา ยุทธศาสตรการเขาสูประชาคมการเมืองและความมั่นคงของกระทรวงกลาโหม และ ใหขอเสนอแนะ นโยบายปฏิสัมพันธทางทหารเพื่อสนับสนุนการเปนประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ผูวิจัย มุงเนนการเสนอนโยบายปฏิสัมพันธทางทหารภายในกรอบประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ในความรับผิดชอบของสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม เปนนโยบายการปฏิบัติเมื่อเริ่มเขาสูการเปน ประชาคมอาเซียนแลวคือตั้งแตมกราคม ๒๕๕๙ เปนตนไป สําหรับขอบเขตการวิจัยเนนเฉพาะ ประเทศอาเซียนที่มีเขตแดนติดกับประเทศไทย เปนการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดย ศึกษาคนควาจากเอกสาร (Documentary Research) ทั้งขอมูลทุติยภูมิจากการคนควาเอกสารนโยบาย เอกสารวิจัย เอกสารทางวิชาการ และบทความตางๆที่เกี่ยวของ และขอมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ และสอบถามความคิดเห็นจากผูทรงคุณวุฒิและจากบุคคลที่เกี่ยวของ จากนั้นจึงนําขอมูลตาง ๆ ที่ รวบรวมไดมาวิเคราะหและสรุปผล ผลการวิจัยพบวา ปญหาสําคัญในการบรรลุเปาหมายการเปนประชาคมการเมืองและ ความมั่นคงอาเซียน คือการสรางคานิยมรวมกันโดยคํานึงถึงความหลากหลายของวัฒนธรรมการเมือง และการปกครองของประเทศสมาชิก ซึ่งตองอาศัยการสรางความไวเนื้อเชื่อใจระหวางกันใหมากยิ่งขึ้น กระทรวงกลาโหมจึงกําหนดแนวทางการปฏิบัติเมื่อเขาสูประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน เนนการสรางปฎิสัมพันธทางทหารอยางตอเนื่องในกรอบการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน ผูวิจัย พบวาการดําเนินการที่เปนรูปธรรมและยั่งยืน จะไดมาจากการสรางความไวเนื้อเชื่อใจโดยการมี ปฏิสัมพันธในรูปแบบตางๆ เพื่อนําไปสูการมียุทธศาสตรรวมกัน ข ผูวิจัยไดใหขอเสนอเชิงนโยบายในการปฏิสัมพันธทางทหารที่อยูในศักยภาพของ กระทรวงกลาโหม และตอบสนองผลประโยชนของชาติในการเขาสูประชาคมการเมืองและความมั่นคง อาเซียนในสามดาน คือ ๑. ดานการสงเสริมความมั่นคงทางทะเลอาเซียน ไดแก การจัดตั้งกองกําลัง ทางเรืออาเซียน ๒. ดานการเสริมสรางศักยภาพในการปฏิบัติการทางทหารรวมไทย – เมียนมา ไดแก การ ลาดตระเวนทางทะเลรวม ไทย – เมียนมา และ ๓ .ดานการเสริมสรางศักยภาพในการปฏิบัติการทาง ทหารรวมกันของอาเซียน ไดแก การจัดตั้งกองกําลังรักษาสันติภาพอาเซียน

abstract:

ABSTRACT Title Defence Interaction Policy towards ASEAN Political and Security Community Field Politics Name Lieutenant General Sittipol Nimnuan Course NDC Class 57 Objective of this research is to study ASEAN’s security circumstance, Ministry of Defence (MOD)’s strategy toward ASEAN Political and Security Community, and to recommend Defence Interaction Policy toward ASEAN Political and Security Community. Scope of the research is in the area of responsibility of the Office of Permanent Secretary for Defence. The recommended policy is to be adopted in 2016, the beginning year of APSC. This is the qualitative research comprising of documentary research, and interviewing of qualified persons and concerned person. Result of the research is that main obstacle to be perfect APSC is lack of shared political value among member countries. Comprehensive confidence building measures are critically needed. As the result, MOD managed to determine a guideline on the entry of APSC focusing mainly on continuous defence interaction in line with ADMM’s approved concept of action. The research’s recommendations are defence interaction policies to facilitate solid and sustainable confidence among member countries of APSC. These recommended policies will response to national interest toward APSC. Three example policies are Establishment of ASEAN Maritime Force, Thai – Myanmar Joint Sea Reconnaissance, and Establishment of ASEAN Peace Keeping Force. ๒